ซีอีโอหญิงคนใหม่
แม้เวลาจะล่วงเลยไปแล้ว 3 เดือน แต่ลิน ค็อก ในฐานะกรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหารธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) คนใหม่ เธอยังมีภารกิจรออยู่ตรงหน้าอีกมาก
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2553)
สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) เล่นกับชุมชน
ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) สัญชาติอังกฤษ เปิดสาขาแห่งที่ 37 สาขาศรีวรา ถนนรามคำแหง เป็นสาขาแรกที่เปิดในปีนี้และเป็นสาขาที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมกับชุมชนมากขึ้น เป็นนโยบายของมาร์ค เดวาเดสัน กรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารคนใหม่ที่เข้ามารับตำแหน่งเมื่อต้นปีที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2551)
Aussie Dollars เงินฝากใหม่ของ SCBT
ภายใต้ทิศทางของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่มีแนวโน้มลดลง การเพิ่มยอดปริมาณบัญชีเงินฝากของธนาคารพาณิชย์แต่ละแห่ง กลายเป็นกรณีที่ต้องหาแรงกระตุ้นและความจูงใจใหม่ๆ ให้กับลูกค้า กรณีดังกล่าวเห็นได้ชัดจากความเคลื่อนไหวของธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) หรือ SCBT
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2551)
เรื่อง (ไม่) บังเอิญของ CEO 2 คน
การเปิดตัว CEO ของ 2 ธนาคาร ทั้งธนาคารเอชเอสบีซี และธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) ในเวลาใกล้เคียงกันมีความหมายหลายๆ อย่าง เพราะสถาบันการเงิน 2 แห่งนี้เป็นธนาคารสัญชาติอังกฤษที่มาตั้งรกรากอยู่ในเมืองไทยกว่าหนึ่งศตวรรษ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2551)
อยากแต่งงาน สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดช่วยได้
ดูเหมือนว่า ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จะแอคทีฟตั้งแต่ต้นปี โดยเฉพาะการให้บริการสินเชื่อรายย่อยที่มียุทธชัย เตยะราชกุล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายสินเชื่ออุปโภคบริโภคของธนาคารจะขยันขันแข็งเป็นพิเศษ เห็นบอกว่าปีนี้จะรุกสินเชื่อบุคคลอย่างเต็มที่ ซึ่งก็น่าจะเป็นอย่างนั้นเพราะอาทิตย์ที่ 2 ของเดือนมกราคม ธนาคารก็เปิดบริการเรียกน้ำย่อยตัดหน้าธนาคารหลายแห่งไปเรียบร้อย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2551)
สหรัฐฯ แย่ ไทยยิ่งแย่กว่า
ข้อมูลของธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) ที่พูดถึงแนวโน้มเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย ปี 2551 เรียกได้ว่าเป็นสัญญาณเตือนภัยให้กับนักธุรกิจไทยที่ต้องเร่งปรับตัวกันค่อนข้างมาก เพราะในปีหน้าธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดถึงกับฟันธงว่าการส่งออกของไทยจะเหลือแค่ 8% จะเห็นการขาดดุล และการเคลื่อนย้ายทุนรุนแรงขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2550)
"Seeing is Believing" เพราะเห็นจึงศรัทธา...
Corporate Social Responsibility (CSR) กลายเป็นส่วนหนึ่งในคำโฆษณาของหลายธุรกิจ เพื่อสร้าง (หรืออ้าง) ความชอบธรรมในการแสวงหากำไรจากสังคมนั้น แต่จะมีธุรกิจสักกี่แห่งที่จะใช้ CSR ในการสร้างศรัทธามหาชนได้อย่างแท้จริง ซึ่ง "ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด" ก็น่าจะได้เป็นหนึ่งในนั้น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2550)
"Model ไทย ไม่ complicate"
"ก่อนจะกลับมาเมืองไทย ได้ไปอยู่ดูไบนานถึง 2 สัปดาห์ เพื่อเรียนรู้ธุรกิจของเขา และก็มีหลายเรื่องที่เขาอยากเรียนรู้จากเรา ประเทศไทยเป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องสินเชื่อส่วนบุคคล และเผอิญว่าก็ทำตรงนี้มาตลอด ก็สามารถบอกเขาได้ อันนี้คือประสบการณ์ที่แชร์กัน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2549)
Model ไทย ต้นแบบ Model โลก
การไปประจำที่สาขาสิงคโปร์ของอารยา ภู่พานิช นั้น ไม่ได้มีเพียงกระเป๋าเสื้อผ้า ข้าวของเครื่องใช้ส่วนตัวของเธอติดตัวไปแต่เพียงอย่างเดียว แต่เธอยังได้นำโมเดลสินเชื่อส่วนบุคคลจากประเทศไทย ออกไปใช้เป็นต้นแบบประยุกต์ให้กลายเป็นสินค้าที่ใช้ได้อย่างลงตัวตามสาขาในอีกหลายประเทศที่สแตนดาร์ด ชาร์เตอร์ด กรุ๊ป เข้าไปทำธุรกิจอยู่
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2549)
อารยา ภู่พานิช คนไทยสู้เขาได้
ในอดีตนั้นชื่อ สแตนดาร์ด ชาร์เตอร์ด (ไทย) ธนาคารสัญชาติอังกฤษอายุกว่า 111 ปี อาจยังไม่เป็นที่รู้จักมากนักในกลุ่มลูกค้ารายย่อย
จนเมื่อสแตนดาร์ด ชาร์เตอร์ด กรุ๊ป ตัดสินใจซื้อกิจการธนาคารนครธน เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นสแตนดาร์ด ชาร์เตอรด์ นครธน ชื่อนี้จึงเริ่มเป็นที่คุ้นหูลูกค้ารายย่อย ซึ่งเป็นฐานเดิมของนครธน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2549)