ข้าวมันไก่มื้อนั้นเมื่อกำจรเปลี่ยนน้ำเสียง
บุญชูแสดงความจำนงขอลาออกจากตำแหน่งประธานกรรมการธนาคาร พร้อมกับชี้แจงอุปสรรคปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในแบงก์นครหลวงไทยอันสืบเนื่องมาจากการบริหารของกลุ่มมหาดำรงค์กุล อาทิ ประมาทเลินเล่อทำให้หนี้สินที่ควรจะได้รับต้องสูญเสียไปจำนวนมาก หนี้สินที่อดีตผู้จัดการสาขา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
เราได้เรียนรู้อะไรบ้างในกรณีธนาคารนครหลวงไทย?
กรณีธนาคารนครหลวงไทยมีตัวละครอยู่ 3 ตัวที่สามารถให้บทเรียนแก่เราได้ดีมาก ทั้งในแง่ของการบริหารและในหลักสัจธรรมแห่งชีวิต
ตัวละครทั้งสามคือ บุญชู โรจนเสถียร มหาดำรงค์กุล กำจร สถิรกุล และธนาคารแห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
2528 ปีแห่งการแตกหัก พอประดาบก็เลือดเดือด
ตลอดระยะเวลาของปี 2527 ความขัดแย้งในด้านวิธีการทำงาน ตลอดจนหลักการและความถูกต้องระหว่างบุญชู โรจนเสถียร กับกลุ่มมหาดำรงค์กุลมีมาตลอด หากแต่มหาดำรงค์กุลมักจะเป็นผู้ให้ข่าวกับสื่อมวลชนอยู่เสมอว่าทุกฝ่ายยังชื่นมื่นกันดี การให้ข่าวนั้นดิลก มหาดำรงค์กุล มักจะเป็นคนให้ข่าว และบางครั้งการให้สัมภาษณ์เมื่อปี 2527 เมื่อมาอ่านดูอีกครั้งในวันนี้ก็สามารถพบได้ว่า ดิลกพูดจาขัดแย้งกับสิ่งที่ตัวเองเคยพูดเอาไว้เมื่อปีที่แล้วอย่างขาวเป็นดำ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
"มันเป็นเรื่องของปัญหาเดิมที่ไม่ได้แก้ไขแล้วโดนซ้ำ"
ธนดี โสภณศิริ ประธานคณะกรรมการจัดการกลุ่มธุรกิจการค้าของเครือบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ซึ่งเคยคร่ำหวอดในแวดวงบริษัทเงินทุนมาก่อน
เป็นอีกคนหนึ่งที่เมื่อ "ผู้จัดการ" ขอให้เขาช่วยย้อนกลับไปมองปัญหาที่เกิดขึ้นในรอบปี
2527
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2528)
ทำไมจะต้องมาลงที่สมหมายคนเดียว?
"อยากจะเรียนว่ารัฐบาลยืนยันว่าทางเศรษฐกิจ และฐานะทางการเงินของรัฐบาลดีขึ้น
ทั้งดุลชำระเงิน ทุนสำรองและค่าเงินบาทต่างอยู่ในสภาพที่ดี เสียงเล่าลือเกี่ยวกับการลดค่าเงินบาท
ยังมองไม่เห็นว่าจะต้องเป็นไปเช่นนั้น"
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2527)