แบงก์ชาติบนเส้นทางที่ตีบตัน?!
แบงก์ชาติบนเส้นทางที่ตีบตัน หลังจากปรากฎการณ์ที่มีผู้บริหารระดับสูงและกลางของแบงก์ชาติทยอยเดินออกจากความมั่นคง
ภาคภูมิและศักดิ์ศรีอันศักดิ์สิทธิ์ ของสถาบันการเงินสูงสุดของชาติแห่งนี้เป็นจำนวนมากแล้ว
คำถามก็เริ่มประดังประเดเข้ามาสู่สถาบันแห่งนี้อย่างไม่ขาดสายแบงก์ชาติเกิดปัญหาสมองไหล
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2532)
ตำแหน่งทางการเมืองในแบงก์ชาติ
ผู้ว่าการและรองผู้ว่าการเป็นตำแหน่งบริหารสูงสุดของแบงก์ชาติซึ่งมักจะมีการเข้าใจกันว่าเป็นตำแหน่งทางการเมือง
เพราะตลอดเวลาที่ผ่านมาผู้ว่าแบงก์ชาติรวม 11 คนและรองผู้ว่าการรวม 10 คนนับแต่ตั้งธนาคารเมื่อปี
2485 ล้วนแล้วแต่เป็นข้าราชการระดับสูงจากกรมต่าง ๆ ในกระทรวงการคลัง (ยกเส้นรองผู้ว่าการคนหลัง
ๆ)
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2532)
วิเคราะห์งบการเงินใหม่ แผ่นแว่นขยายของผู้สอบัญชี "อาการขั้นโคม่า?"
"สถาบันการเงินที่ดีควรจะยึดหลักในการลงบัญชีโดยครบถ้วน ปราศจากการเคลือบแฝงด้วยการตกแต่งการนำเสนอข้อมูลด้วยการลงบัญชีไม่ครบถ้วนหรือปิดบัง
การเปิดเผยข้อมูลผ่านระบบบัญชีและฐานะการเงินที่สมบูรณ์ นับเป็นการแสดงออกถึงสมรรถภาพการบริหารและความสุจริตใจของผู้บริหารที่จะสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง"
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2531)
"เริงชัย มะระกานนท์ …พ้นพงหนาม?"
เริงชัย เป็นนักเรียนทุนคนแรกของแบงก์ชาติที่ขึ้นถึงตำแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งตำแหน่งสูงสุดสำหรับข้าราชการประจำของแบงก์ชาติ เริงชัยเป็นผู้ช่วยผู้ว่าการสายที่
5 รับผิดชอบสำนักงานสาขา
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
ภาระกิจอีกชิ้นของผู้ว่าแบงก์ชาติ
เรื่องของเรื่องมาเริ่มตรงที่ประติมากรรมหน้าตาแปลกๆ ที่อยู่ริมขอบรั้วแบงก์ชาติตรงบริเวณตึกใหม่ด้านติดถนนสามเสน
สอบถามคนของแบงก์ชาติดูทราบว่ามันคือศาลเจ้าเทพารักษ์หรือเทวสถาน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
กำจร สถิรกุล "ใครจะเตะผมก็เชิญ"
การล่มสลายของสถาบันการเงินเกิดขึ้นในยุคสมัยของ กำจร สถิรกุลมากที่สุด
จนหลายคนวิจารณ์เขาว่า เป็นผู้ว่าการแบงก์ชาติที่ไม่กล้าตัดสินใจแก้ปัญหาแบบเฉียบขาด
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
ประเทศไทยต้องการผู้ว่าแบงก์ชาติแบบไหน?
ตลอด 45 ปีที่ธนาคารแห่งประเทศไทยดำเนินงานในฐานะเป็นธนาคารกลางงประเทศ
มีการพูดกันมากถึงศักยภาพและความเป็นอิสระของสถาบันแห่งนี้ ในแง่มุมที่ยอมรับในขีดความสามารถของบุคคลตั้งแต่ระดับผู้ว่าการลงมาถึงเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติงานที่สูงกว่าสถาบันการเงินอื่นๆ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
เริงชัยกลับแบงก์ชาติ
1 ตุลาคม 2530
เริงชัย มะระกานนท์ กรรมการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงไทย จะกลับไปทำงานที่แบงก์ชาติในตำแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารฯ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2530)