"อนุญาตเปิด 5 กองทุนรวมตลาดมีสภาพคล่องเพียงพอหรือ ?!"
ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศออกมาแล้วว่าจะมีการเปิดใบอนุญาตจัดการกองทุน
5 ใบในปีนี้ โดยผู้ที่มีสิทธิได้รับใบอนุญาตนั้น จะต้องเป็นสถาบันการเงินที่มีผลการดำเนินงานดี
เป็นผู้ที่ให้ความร่วมมือกับทางราชการในการแก้ไขปัญหาทางการเงินที่สำคัญต่าง
ๆ มีความรู้ความสามารถในการจัดการกองทุน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
"หลังบีไอเอส แบงก์ใหญ่ลอยตัว แบงก์กลางลำบาก"
ในปีนี้ แบงก์ชาติกำหนดให้แบงก์พาณิชย์จะต้องปรับปรุงฐานะเงินกองทุนและการดำเนินธุรกิจเข้าสู่กฎเกณฑ์ของบีไอเอส
ต้นทุนของการดำเนินธุรกิจและความระมัดระวังในการบริหารจะเพิ่มมากขึ้น การแสวงหาธุรกิจที่ที่ไม่เป็นภาระต่อเงินกองทุนเป็นทางรอดที่นายแบงก์ทุกรายมองเห็น
การบ้านของนายแบงก์ข้อนี้จะทำอย่างไรช่วงจากนี้ไป
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
แบงก์ชาติติดตั้ง "กันชน" ให้ผู้ส่งออก
ปัญหาเฉพาะหน้าของผู้ส่งออกอยู่ที่ความเสี่ยง ขณะที่การกีดกันการค้าของโลกกำลังเข้มข้น
กลุยทธ์การเติบโตรายได้ประชาชาติอีก 5 ปีข้างหน้าวางไว้ที่ 80% ต้องมาจากบทบาทของธุรกิจภาคการค้าต่างประเทศ
หนทางเดียวของผู้ส่งออก คือ การขยายตลาดผู้ซื้อในต่างประเทศภายใต้การคุ้มครองความเสี่ยงของธนาคารเอ็กซิมแบงก์
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
ปรัชญาเศรษฐศาสตร์เมืองของพิสิฐ ลี้อาธรรม
พิสิฐ ลี้อาธรรมโด่งดังขึ้นมาเมื่อเขาไปมีบททาทในฐานะที่ปรึกษาส่วนตัวของนูกูล
ประจวบเหมาะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมมาคมในกรณีพิจารณาบททวนสัญญา"โครงการโทรศัพท์
3 ล้านเลขหมาย" ที่ซีพีเทเลคอมของกลุ่มเจริญโภคภัณฑ์ที่ได้รับการคัดเลือกจจากรัฐบาลชุดที่แล้ว
(ชาติชาย) ให้เป็นผู้การชนะประมูลในการดำเนินการลงทุน ติดตั้งให้องค์การโทรศัพท์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
วิจิตรจ้างเอกชนบริหารทุนสำรอง
วิจิตร สุพินิจ ผู้ว่าการแบงก์ชาติ เป็นคนหนุ่มไฟแรงมีความคิดอ่านหลักแหลมทันสมัย
หลังจากดำเนินมาตรการผ่อนคลายการปริวรรตเงินตราที่เกิดจากธุรกรรมทางการค้าและการลงทุนแล้ว
เขาก็ได้ริเริ่มสิ่งใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นกับการส่งเสริมเปิดทางให้ตลาดการเงินภายในประเทศมีการแข่งขันมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2534)
บุคลิกใหม่ของแบงก์ชาติ
หลังจากที่วิจิตร สุพินิจ เป็นผู้ว่าการแบงก์ชาติได้ไม่นาน เขาก็มีนโยบายปรับปรุงระบบการบริหารทุนสำรองทางการที่มีอยู่ประมาณ 14 พันล้านดอลลาร์เพื่อความมั่นคง มีสภาพคล่องสูง และมีผลตอบแทนดี การลงทุนพัฒนาระบบ
38 ล้านบาท ขั้นแรกเพียงหวังเพื่อให้ทราบข้อมูลการเปลี่ยนแปลงตลาดการเงินและตลาดทุนที่รวดเร็วขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
หลังชวลิต : ใครจะนั่งเก้าอี้ผู้ว่าแบงก์ชาติ?
อังคารที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีปัจจุบัน ได้บันทึกประวัติศาสตร์การเงินไว้อีกหน้าหนึ่ง
เมื่อใช้มือรมต.คลังประมวล สภาวสุ ปลดกำจร สถิรกุลออกจากตำแหน่งผู้ว่าแบงก์ชาติ
พร้อมประกาศแต่งตั้งชวลิต ธนะชานันท์ลูกหม้อที่ทำงานในแบงก์ชาติมานาน 30
ปีและเป็นรองผู้ว่าการมานานกว่า 6 ปีขึ้นเป็นผู้ว่าการแทน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)
ชีวิตง่าย ๆ แต่ทันโลกของชวลิต
ชวลิตใช้เวลาส่วนใหญ่หลังเวลางานหมดไปกับการทุ่มเทการอ่านหนังสือทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นนวนิยายของเฟคเดอริค
ฟอร์ไซร์ในเรื่อง THE NEGOTIATER หรือเรื่องหนัก ๆ ของวิลเลียม กลีเดอร์ใน
THE SECRETS OF THE TEMPLE
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)
สวัสดิการพนักงานแบงก์ชาติ
สุขภาพ - สิทธิเรื่องการรักษาพยาบาลเบิกได้เหมือนข้าราชการ ได้มีการทำ
สัญญากับโรงพยาบาลศิริราชให้เป็นสถานที่รักษาพยาบาลของพนักงาน แต่ก็สามารถเบิกค่ารักษาได้ในกรณีที่ไปรักษากับสถานพยาบาลของเอกชน
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2532)