เอกกมล คีรีวัฒน์ กับยุคมืดของแบงก์ชาติ
"สนธิ ลิ้มทองกุล" เจ้านายของทุกคนในเครือผู้จัดการหรือ MANAGER
MEDIA GROUP เคยพูดอยู่ครั้งหนึ่งว่า คนที่เป็นหัวหน้าคนนั้นเวลามีภัยมาต้องแอ่นอกรับ
แต่หากมีความดีความชอบควรยกให้ลูกน้อง แต่คำพูดนี้คงใช้ไม่ได้กับแบงก์ชาติในปัจจุบันเพราะคนบางคนเงยหน้าก็อายฟ้าก้มหน้าก็อายดิน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2539)
วิจิตร สุพินิจ
ผู้ว่าวิจิตรกำลังเผชิญแรงกดดันอย่างหนัก ในสายตาคนภายนอก เขาและแบงก์ชาติกำลังประสบกับ
"วิกฤตศรัทธา" ขณะที่จากคนภายในเองก็อยู่ในภาวะระแวงอันเนื่องมาจากการที่ผู้ว่าวิจิตรดึงการเมืองเข้ามามีบทบาทในแบงก์ชาติมากเกินไป
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2539)
เอกกมล คีรีวัฒน์กับยุคมืดของแบงก์ชาติ
ความผิดพลาดครั้งใหญ่ในชีวิตการเป็นเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ก.ล.ต.)ของเอกกมล คีรีวัฒน์คือความไม่เด็ดขาดที่จะตัดสินใจลาออกเมื่อครั้งบรรหารมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีใหม่ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2539)
แบงก์ชาติเล่นการเมืองหรือการเมืองเล่นแบงก์ชาติ?
ปรากฏการณ์ซ้ำซากทางการเมืองที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังที่มาจากนักการเมืองปลดผู้ว่าการแบงก์ชาติ
และล่าสุด "ปลดรองผู้ว่าแบงก์ชาติ" เป็นครั้งแรกสามารถอธิบายได้ด้วยงานวิจัยเรื่อง
"ความเป็นอิสระของธนาคารแห่งประเทศไทยกับการเมืองไทย" ของ "ดร.พัชรีสิโรรสและดร.สมชาย
ภคภาสน์วิวัฒน์" แห่งคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิมพ์โดยปี
2535
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2539)
"โฆษกแบงก์ชาติคนใหม่ นามสกุล "เหตระกูล"
ภายในห้องทำงานของโฆษกแบงก์ชาติคนใหม่ ที่หอมกรุ่นด้วยกระเช้าดอกไม้หลายหลากสี
ความสวยเรียบ ๆ ของ ดร. เกลียวทอง เหตระกูลหรือที่คนแบงก์ชาติเรียก "พี่เกี๊ยว"
เป็นอีกภาพพจน์ที่ดูงามตา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2538)
"เงินบาท" ตั้งมั่น ท่ามกลางวิกฤติเงินดอลลาร์
นับตั้งแต่พฤศจิกายนปี 2537 เป็นต้นมา นักบริหารเงินทุกคนแทบไม่มีใครคาดคิดว่าค่าเงินดอลลาร์
ซึ่งเป็นเงินสกุลหลักของโลกจะเสื่อมค่าได้อย่างรวดเร็วอย่างน่าใจหาย จากระดับที่กว่า
100 เยนถูกเทขายจนลงมาเหลือ 80.10 เยนต่อดอลลาร์ต่ำที่สุดในประวัติศาสตร์ค่าเงินดอลลาร์
เมื่อวันที่ 10 เมษายนที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)
OPEN-MARKET OPERATIONS เครื่องมือที่จำเป็นของแบงก์ชาติภายใต้ระบบการเงินเสรี
และแล้วก็ถึงยุคที่อำนาจของแบงก์ชาติในการกำหนดทิศทางทางการเงินของประเทศเริ่มถูกตั้งถามว่า
ยังศักดิ์สิทธิ์อยู่หรือไม่ จากกรณีที่ใช้วิธี "การขอความร่วมมือ"
จากธนาคารพาณิชย์ให้ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลงมาเมื่อสองเดือนที่แล้ว กว่าที่แบงก์พาณิชย์จะยอมลดดอกเบี้ยเงินกู้สำหรับลูกค้าทั่วไปลง
0.25% ทางแบงก์ชาตต้องทำสงครามเย็นหรือสร้างแรงกดดันกับบรรดานายแบงก์เป็นเวลานานกว่า
3 อาทิตย์
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2536)
"พิพิธภัณฑ์แบงก์ชาติ เส้นทางเงินตราไทย"
ความคิดเรื่องการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทยเริ่มต้นขึ้นเริ่มมาตั้งแต่สมัยที่
ดร. ป๋วย อึ้งภากรณ์ เป็นผู้ว่าการฯ และพิสุทธิ์ นิมมานเหมินทร์ เป็นรองผู้ว่าฯ
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวิวัฒนาการของเงินตราไทย
และประวัติการดำเนินงานของธนาคารแห่งประเทศไทยตลอดช่วงระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
ลงทุนหุ้นโฮลดิ้งต้องดู NAV
“บริษัทโฮลดิ้งไม่มีคำนิยามที่ใช้กันอยู่ทั่วไป แต่คิดว่าหมายถึงบริษัทที่ถือหุ้นเป็นบริษัทลงทุนอย่างเดียว มีเงินและเอาเงินไปลงทุนในกิจการต่าง ๆ แต่ตัวเองไม่ได้ประกอบธุรกิจใด ๆ จัดเป็น ที่มี รายได้ทั้งหมดมาจากเงินปันผล บริษัทที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ ฯ จะไม่มีประเภทนี้เลย” บุญมา วิกันตา-นนท์ หัวหน้าส่วนรับหลักทรัพย์ฝ่าย บริษัทจดทะเบียนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้คำนิยามบริษัท โฮลดิ้ง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
ไทยจะเป็นศูนย์การเงินภูมิภาค
มาตรการเพื่อผลักดันไทยเป็นศูนย์การเงินภูมิภาคได้ดำเนินการมาเป็นระยะ ๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 ที่เริ่มด้วยการผ่อนคลายด้านปริวรรตเงินตรา การขยายขอบข่ายการดำเนินธุรกิจของสถาบันการเงิน และการพัฒนาตลาดทุนเพื่อให้เป็นตลาดรอง ปัจจุบันไทยใกล้จะบรรลุเป้าหมายด้วยการจัดตั้ง BIBF และเขตเศรษฐกิจเงินบาท
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)