ฟรีไดวิ่ง: แค่คนกับทะเล
ปกตินักดำน้ำ นอกจากจะต้องเปลืองน้ำมันล่องเรือไปยังจุดดำน้ำ ก่อนลงสู่ใต้ผืนน้ำก็ต้องพ่วงเอาอุปกรณ์ต่างๆ เป็นเครื่องช่วยลงไปใต้ทะเลด้วย ดูแล้วมีพันธนาการมากกว่าจะได้ลงเป็นอิสระใต้ทะเล สิ่งแปลกปลอมเหล่านี้ย่อมก่อผลกระทบต่อธรรมชาติไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2554)
3 พันธกิจที่คนไทยต้องทำให้เป็นไปได้
จากการที่ผู้เชี่ยวชาญด้านน้ำและการจัดการชายฝั่งจากเนเธอร์แลนด์จำนวน 6 คน เดินทางมารวบรวมปัญหาในพื้นที่ชายฝั่งอ่าวไทยตอนบน เพื่อเสนอแนวทางการดำเนินการระยะยาวในการจัดการและพัฒนาพื้นที่ดังกล่าว โดยมีศูนย์จัดการความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภายใต้ความร่วมมือระหว่างสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยและผู้เชี่ยวชาญต่างๆ ได้ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะเบื้องต้น 3 ประเด็น ดังนี้
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2554)
การแก้ไขต้องเริ่มต้นจากความรู้และปัญหาที่แท้จริง
ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำนวยการศูนย์จัดการความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ สำนักงานงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกรรมการบริหาร รักษาการผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (สทอภ.)
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2554)
ผลลัพธ์ของขุนสมุทรจีน 49A2
สำหรับผลลัพธ์ที่นักวิชาการคำนวณไว้สำหรับการสลายพลังงานคลื่นขุนสมุทรจีน 49A2 มีค่าอยู่ระหว่าง 0.6-0.7 (ค่ายิ่งน้อยแสดงว่าโครงสร้างยิ่งลดพลังงานคลื่นได้มาก)
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2554)
แผ่นดินที่หายไปที่ “ขุนสมุทรจีน”
การแก้ปัญหาการกัดเซาะของชุมชนชายฝั่งหลายพื้นที่เริ่มตั้งหลักได้ คือความหวังที่ทำให้ชาวชุมชนบ้านขุนสมุทรจีน ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ เชื่อว่าพวกเขาก็น่าจะมีวิธีหยุดการกัดเซาะชายฝั่งได้เช่นกัน อีกทั้งพื้นที่แห่งนี้ยังเป็นพื้นที่ของเขื่อนป้องกันการกัดเซาะต้นแบบที่เป็นงานวิจัยของนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภายใต้ชื่อโครงการเขื่อนกั้นคลื่น 49A2 อีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2554)
คิดแบบชาวบ้าน...ทำได้ทำเลย
คงศักดิ์ ฤกษ์งาม ผู้นำเครือข่ายสิ่งแวดล้อมคูคลอง และทะเลบางขุนเทียน เกิด เติบโต และทำงานที่ชุมชนบางขุนเทียน จนถึงวัย 55 ปีในปีนี้ ด้วยอาชีพรับราชการในฐานะเจ้าหน้าที่ควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุขประจำพื้นที่ชุมชนคลองพิทยาลงกรณ์ เขตบางขุนเทียน ทำให้เขาต้องรับฟังปัญหาธรรมชาติในพื้นที่มานักต่อนัก
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2554)
บางขุนเทียน: ด่านหน้ารักษาดินแดน
คนกรุงเทพฯ โชคดีที่มีทะเลบางขุนเทียน เป็นทั้งพื้นที่สีเขียว แหล่งพักผ่อน แหล่งเรียนรู้ และเป็นแผ่นดินหน้าด่านที่ปกป้องกรุงเทพฯ ชั้นในไว้จากการรุกดินแดนโดยเงื้อมมือธรรมชาติ อีกด้านหนึ่งพื้นที่แห่งนี้ยังเป็นแหล่งจับสัตว์น้ำทางทะเลที่ทำรายได้ทางเศรษฐกิจให้กับประเทศได้สูงไม่แพ้พื้นที่ชายฝั่งที่เป็นหาดทรายสวยชื่อดังในจังหวัดอื่นๆ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2554)
การวิเคราะห์การเพิ่มการตกตะกอนโดยใช้ไม้ไผ่รวกปัก
แนวไม้ไผ่รวกใช้บรรเทาความรุนแรงของการกัดเซาะชายฝั่งได้ เพราะยังพบว่ายังมีการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณที่ไม่มีแนวไม้ไผ่ป้องกัน และมีอัตราการกัดเซาะน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับแปลงที่ไม่มีแนวป้องกัน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2554)
คนเฝ้าแผ่นดินที่โคกขาม
“สมัยก่อนแมงดาจานในพื้นที่มีเยอะ แต่เดี๋ยวนี้ไม่มีแล้ว” คำบอกเล่าของ วรพล ดวงล้อมจันทร์ อดีตผู้ใหญ่บ้านหมู่ 3 ตำบลโคกขาม อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร หรือที่รู้จักกันในนาม ผู้ใหญ่หมู ผู้มองเห็นการเปลี่ยนแปลงของแนวชายฝั่งในพื้นที่ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และยังเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งโครงการศูนย์เรียนรู้อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมหาชัยฝั่งตะวันออก
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2554)