เมืองไทยกับอุทกภัย ต้องดูที่ต้นตอ
สืบเนื่องจากเรื่องน้ำท่วมในบทความของเดือนที่แล้ว ณ วันนี้น้ำท่วมยังคงอยู่กับเราและขยายวงกว้างขึ้น สร้างความปั่นป่วนเสียหายเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ น้ำได้กระจายตัวไปเกือบทุกจังหวัดทุกพื้นที่ ในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก เมื่อมาถึงกรุงเทพมหานคร อัตราความเสียหายก็เพิ่มขึ้นหลายเท่าทวีคูณ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2554)
10 ข้อเสนอแนะ มุมมองต่ออุทกภัยไทยปี 2011
เพราะสถานการณ์น้ำท่วมใหญ่ปีนี้ ทำให้น้ำหนักของการจัดการน้ำเทไปที่เรื่องปัญหาน้ำท่วมเป็นหลัก เช่นเดียวกันโครงการน้ำแห่งเอเชียของ IUCN โดย Ganesh Pangare หัวหน้าโครงการน้ำแห่งเอเชีย (Water Programme) ระบบนิเวศและกลุ่มอาชีพ IUCN สำนักงานภูมิภาคเอเชีย (Ecosystems and Live-lihoods Group, IUCN Asia Regional Office) สรุปมุมมองที่เป็นต้นเหตุปัญหาน้ำท่วมที่เกิดขึ้นของไทยในครั้งนี้ให้กับผู้จัดการ 360 ํ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2554)
น้ำท่วมปี 2011 ก้าวสำคัญของการเรียนรู้
ขณะที่กำลังเขียนบทความนี้อยู่ สื่อต่างๆ คงรายงานสถานการณ์น้ำท่วมกันอย่างชุลมุนวุ่นวาย ปรากฏการณ์น้ำท่วมครั้งนี้อาจจะมิใช่ครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เมืองไทยเคยประสบมา แต่เป็นครั้งที่เสียหายมากที่สุดครั้งหนึ่ง เพราะได้แผ่ขยายวงกว้างออกไปทั้งภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก รวมกันถึงสามสิบกว่าจังหวัด
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤศจิกายน 2554)
รับมือน้ำท่วม กรณีศึกษาจากหาดใหญ่
เดือนพฤศจิกายน เป็นช่วงเวลาที่ชาวหาดใหญ่จะตื่นตัวเป็นพิเศษ เพราะเป็นเดือนครบรอบน้ำท่วมใหญ่ถึง 2 ครั้ง สร้างความเสียหายทิ้งไว้รอบละไม่ต่ำกว่า 1-2 หมื่นล้านบาท ทั้งต่อระบบการค้าและทรัพย์สิน ครั้งแรกเมื่อปี 2543 และอีกครั้ง เมื่อปี 2553 เหตุการณ์เช่นนี้ไม่ว่าจะเป็นการฉลองครบรอบ 10 ปี หรือครบรอบปี ชาวหาดใหญ่ล้วนไม่อยากให้เกิดขึ้นจึงต้องตื่นตัวและเตรียมพร้อมอย่างไม่ประมาท
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤศจิกายน 2554)
กรีนเชิงสัญลักษณ์จาก ปตท.
“โลกมันชัดเจนว่าก้าวสู่เรื่องกรีนโปรดักส์ทั้งนั้น เป้าหมายของ ปตท.จึงอยากมีผลิตภัณฑ์ที่เป็นกรีน เราเริ่มจากไบโอพลาสติกหรือพลาสติกที่ย่อยสลายได้ในธรรมชาติ ที่สำคัญเราต้องพัฒนาธุรกิจให้เอาไปใช้ได้จริงด้วยการหาการใช้ประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ให้เจอ”
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2554)
หายนะแห่งศตวรรษที่ 21 ของสหรัฐฯ
เกิดอะไรขึ้นกับประเทศสหรัฐอเมริกา ในทุกวันนี้... ประธานาธิบดีบารัค โอบามา นักเศรษฐศาสตร์ นักการเมือง นักวิชาการ นักธุรกิจ...ใครอธิบายได้บ้าง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2554)
Sunflower Remediation
เวลาครึ่งปีภายหลังเหตุแผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นเมื่อ 11 มีนาคม 2011 ที่ผ่านมา* ดูเหมือนจะเป็นช่วงเวลาที่เนิ่นนาน โดยเฉพาะสำหรับผู้ประสบภัยชาวญี่ปุ่น แต่ขณะเดียวกันก็เป็นช่วงเวลาที่สั้นมากเมื่อเทียบกับผลกระทบจากสารกัมมันตรังสีที่ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมรอบรัศมีโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟุคุชิมะแห่งที่ 1 ซึ่งเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นพยายามแสวงหาวิธีการกำจัดสารกัมมันตรังสีดังกล่าวโดยเร่งด่วนที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2554)
คนไทยตั้งรับอย่างไรเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยน
การประชุมวิชาการระดับชาติประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 2 วันที่ 18-19 สิงหาคม 2554 ที่เมืองทองธานี ภายใต้หัวเรื่อง “การเปลี่ยนกระบวนทัศน์สู่เศรษฐกิจสีเขียว ขององค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก (อบก.)” นอกจากแสดงถึงความพยายามในการหาแนวทางลดโลกร้อนและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก หัวข้อสัมมนาย่อยในงานที่น่าสนใจบางหัวข้อ ยังสะท้อนให้เห็นการวางแผนจัดการของประเทศไทย ที่เริ่มวางแผนงานอย่างเป็นระบบและมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลกว่าเดิมเกิดขึ้นด้วย แม้ว่าแผนงานที่ว่านั้นอาจจะยังไม่มีความชัดเจนเต็มร้อยก็ตามที
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2554)
ดอนหอยหลอด การถนอมอาหารในถิ่นอุตสาหกรรม
หอยหลอด หอยทะเลรูปทรงคล้ายหลอดกาแฟ ไม่ว่าจะอยู่จานผัดฉ่าหรือฝังตัวอยู่ในธรรมชาติ ก็ทำให้ใครหลายคนนึกถึงดอนหอยหลอด สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยม ทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดสมุทรสงครามขึ้นมาทันที
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2554)
วิถีของคนภูเขากับการพัฒนาเมือง
จากเช้าวันแรกที่เดินทางมาถึงซาปา (Sapa) จนถึงตอนเย็นของวันที่ 3 ชั่วระยะเวลาไม่เต็ม 72 ชั่วโมงที่ผ่านไป ถ้ามองมุมกว้าง เมืองนี้เหมือนไม่มีอะไรเปลี่ยนไป เว้นแต่มีนักท่องเที่ยวหน้าใหม่ที่หมุนเวียนเข้ามาทุกวัน แต่เมื่อมองลงไปในรายละเอียด ริมถนนเส้นเดิมๆ ของเมืองเล็กๆ แห่งนี้เปลี่ยนแปลงทุกวัน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2554)