Cyber University บทใหม่ของ ม.รังสิต
แม้ว่าระบบ e-learning จะไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่สำหรับแวดวงการศึกษาไทย แต่สำหรับมหาวิทยาลัยรังสิต เทคโนโลยีสารสนเทศดังกล่าวกำลังเป็นประหนึ่งเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาสถานศึกษาแห่งนี้ให้ก้าวหน้าไปอีกขั้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2552)
4 หลักสูตรใหม่ใน ม.รังสิต
หลักสูตรทั้ง 4 ที่มหาวิทยาลัยรังสิตกำลังจะเปิดให้บริการในปีการศึกษา 2549 นี้ ประกอบไปด้วยคณะทัศนแพทยศาสตร์ ซึ่งเป็นหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สายตา (Bachelor of Science in Optology) หรือหมอสายตา
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2549)
มหาวิทยาลัยรังสิต ไม่รู้จะเอาเงินหรือกล่อง
นับตั้งแต่เกิดวิกฤติผู้นำของสังคมไทยขึ้นมา ดูเหมือนมหาวิทยาลัยรังสิตจะเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรก และแห่งเดียวที่ออกมาร่วมสนับสนุนความเคลื่อนไหวในการให้ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2549)
ต่อต้านร.ร.แพทย์รังสิตยกระบบแพทย์พาณิชย์จะเฟื่องฟูเข้าอ้าง
วิทยาลัยรังสิตเป็นเอกชนเจ้าแรกที่เปิดสอนคณะแพทย์จึงถูกต่อต้านอย่างรุนแรงจากกรรมการบางท่านในแพทย์สภา
กรอบเหตุผลของการต่อต้านอยู่ที่ ความหวั่นเกรงในระบบแพทย์พาณิชย์จะเฟื่องฟู
เป็นอันตรายต่อประชาชน ขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งเห็นว่า เป็นการปิดกั้นการมีส่วนร่วมในการผลิตแพทย์ที่กำลังขาดแคลนของเอกชน จริง ๆ แล้วเรื่องนี้อยู่ที่ต่างกันในการคิดมากกว่าประเด็นด้านกฎหมาย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2532)
เอกชนยังไม่พร้อมเปิดคณะแพทย์….ทุนไม่พอ
การเปิดคณะแพทย์ศาสตร์ของวิทยาลัยรังสิตครั้งนี้ ได้รับการสนใจจากสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอื่น
ๆ ทั้งในฐานะที่เป็นสถาบันร่วมสมาคมเดียวกันที่รู้จักมักคุ้นกันดีมีการพบปะกันเป็นประจำ
และในฐานะที่เป็นกรณีตัวอย่างที่หลายสถาบันให้ความสนใจเพื่อที่จะได้ไม่มีปัญหาถ้าถึงทีที่จะมีโอกาเปิดเองบ้าง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2532)