ชีวิตที่ไร้รวงรัง... “โจหลุยส์” ดั่งฝูงนกพเนจร
จากชีวิตลูกสาวเศรษฐีอันแสนสุขสบายในคฤหาสน์หลังงาม เพียงข้ามคืนที่ครอบครัวเจอวิกฤติการเงินกลายเป็นคนล้มละลายไร้บ้านหลังโต ชีวิตเธอหลังจากนั้นต้องผ่านความลำบาก แต่ทุกอย่างก็ผ่านไปด้วยดีเพราะมีพระเอกคอยช่วยเหลือ กระทั่งรักกัน แล้วไม่นานทุกอย่างก็จบแบบ Happy Ending
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2554)
กว่าจะเชิด “หนุมาน”
ก่อนที่ไฟสปอตไลต์จะฉายลงบนเวที... หลังม่านเวที หนุ่มสาวกว่า 30 คน อายุเฉลี่ยเพียง 22 ปี กำลังวุ่นวายอยู่กับการช่วยกันแต่งองค์ทรงเครื่อง ประสมเสียงเจี๊ยวจ๊าว หยอกล้อ และอาการลิงโลด ตามประสาวัยคะนอง ก่อนจะเข้าสู่ความสงบด้วยการนั่งทำสมาธิ เป็นเครื่องเตือนว่าเวลาแสดงใกล้เข้ามาแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
อนาคตนาฏยศาลา
ครบรอบ 2 ปีที่เผชิญวิกฤติการเงินขนานใหญ่จนเกือบต้องปิดตัวลง คณะนาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก หรือ "โจหลุยส์" ฉลองอย่างยิ่งใหญ่ด้วยรางวัลการแสดงวัฒนธรรมยอดเยี่ยมระดับโลก... แต่ทว่าอีกไม่ถึง 10 เดือนนับจากนี้ เมื่อสัญญาเช่าที่ดินที่สวนลุมไนท์บาร์ซาสิ้นสุดลง พวกเขายังไม่รู้ว่าจะอยู่ที่ไหนและอย่างไร
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
หุ่นละครไทยมีชีวิตที่โจ หลุยส์ เธียเตอร์
หุ่นละครเล็กที่มีลีลาเคลื่อนไหวทุกส่วนคล้ายคนจริง ความสวยงามของเสื้อผ้าเครื่องประดับที่วิจิตรตามแบบโขนละคร
ศิลปะการเชิดที่สวยงามแตกต่างไปจากการเชิดหุ่นกระบอกที่คุ้นเคย ประกอบไปด้วยระบบแสง
สี เสียง ที่ทันสมัย สะกดให้สายตาทุกคู่หยุดนิ่งและจ้องไปยังเวทีข้างหน้าเพียงจุดเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
เส้นทาง 102 ปี ของหุ่นละครเล็ก
ผู้ให้กำเนิดหุ่นละครเล็ก เมื่อประมาณปี พ.ศ.2444 คือครูแกร ศัพทวณิช ซึ่งเป็นนาฏศิลป์โขน
ละคร ในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยในสมัยนั้นได้ตั้งชื่อคณะว่า "ละครเล็กครูแกร"
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)