ลำน้ำพองตัวอย่างแห่งการอนุรักษ์
บ่อยครั้งที่เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม เหยื่อและโจทก์มักเป็นชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบ ขณะที่จำเลยก็มักเป็นโรงงานและภาคธุรกิจอยู่ร่ำไป รวมถึงกรณีแม่น้ำพองเมื่อ 10-20 ปีก่อน แต่ภาพเหล่านั้นจะกลายเป็นเพียงประวัติศาสตร์ที่ไม่มีวันซ้ำรอย ด้วยจิตสำนึกต่อสาธารณะของทุกฝ่าย เฉกเช่นปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2551)
อะไรที่นำกลับมาใช้ได้อีกต้องเอากลับมาให้หมด
อุตสาหกรรมเยื่อกระดาษโดยทั่วไปมักเป็นไม้เบื่อไม้เมากับปัญหาสิ่งแวดล้อม แต่สำหรับที่ฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ นอกจากไม่ยอมปล่อยให้มีอะไรหลุดออกไปสร้างปัญหานอกโรงงานแล้ว ยังพยายามเอาของเสียทุกชนิดที่ได้จากทุกกระบวนการผลิตกลับมาใช้ใหม่ให้หมด
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2550)
ที่มาของเรือ “รักษ์น้ำพอง”
เรือ "รักษ์น้ำพอง" ดูเหมือนเป็นงานเดียวที่เครือซิเมนต์ไทยสามารถอาศัยความชำนาญในงานด้านวิศวกรรมเข้ามาใช้ในกระบวนการกอบกู้ภาพลักษณ์ของโรงงานฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ กลับคืนมา
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2550)
หลากสาเหตุที่ปลาในกระชังตาย
เป็นข้อเท็จจริงซึ่งต้องยอมรับว่าในอดีตโรงงานฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ เป็นต้นเหตุหนึ่งที่ทำให้น้ำในลำน้ำพองเน่าเสียจนส่งผลให้ปลาที่เลี้ยงไว้ในกระชังของเกษตรกรตาย แต่นั่นเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 15-20 ปีที่แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2550)
ผลพวงจากอดีต
ปัญหาภาพลักษณ์ของฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ ที่เป็นผลพวงจากการตกเป็นจำเลยสังคม ฐานเป็นต้นเหตุหนึ่งที่ทำให้น้ำในลำน้ำพองเน่าเสียในอดีตเมื่อเกือบ 20 ปีก่อน แม้จะไม่กระทบกับการทำธุรกิจโดยตรงในปัจจุบัน แต่ก็ทำให้การทำงานในช่วงที่ผ่านมาของโรงงานผลิตเยื่อกระดาษแห่งนี้ยากและมีต้นทุนมากกว่าโรงงานอุตสาหกรรมอื่นๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2550)
ใช่ว่าชื่อ “เครือซิเมนต์ไทย” ทำอะไรก็ง่ายไปทั้งหมด
แม้ชื่อเครือซิเมนต์ไทยจะได้รับการยอมรับในวงกว้างเรื่องการค้า ธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าชื่อนี้จะขลัง จนทุกกิจกรรมที่ทำทุกคนต้องเชื่อมั่นทันทีที่เห็นชื่อ การเข้าไปซื้อกิจการฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ จึงเป็นกรณีศึกษาที่ดี ที่เครือปูนใหญ่ต้องใช้เวลานับปี กว่าคนรอบข้างจะมั่นใจได้ว่า โรงงานที่ซื้อมานี้ปลอดภัยแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2550)
"พี. เค. พอล กับอนาคตที่ขึ้นอยู่กับโกลเบ็กซ์"
สถานการณ์ในปัจจุบันในเชิงธุรกิจของบริษัท ฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ จำกัด (มหาชน) ดูจะสดใสอย่างมากในระยะนี้เหตุหลักน่าจะมาจากภาวะราคาของกระดาษและเยื่อกระดาษโลกที่เข้าสู่รอบราคาขาขึ้น แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า เนื่องเพราะการสอดประสานที่ลงตัวของงานบริหารที่นำโดย พี. เค. พอล กรรมการผู้จัดการ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2538)
ฟื้นฟินิคซ: ความฝันที่ไม่จริงแม้บนกระดาษ
เราลองมาแก้ปัญหาบนกระดาษดูกันหน่อยดีไหม ดูซิว่าสถานะอย่างฟินิคซฯ นี่ถ้าทุกฝ่ายอยากจะทุ่มสุดตัวแก้กันจริงๆ
ทำได้ไหม และต้องทำอย่างไร
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2529)