เปรียบเทียบประสิทธิภาพการบริหารของ 11 สายการบิน
ผลการประกอบการในรอบสิบปีของการบินไทย 2520-2530 (โปรดดู TEN-YEAR REVIEW)
จะพบว่าการบินไทยเป็นรัฐวิสาหกิจที่เติบโตขึ้นในทุกด้านสามารถทำกำไรได้อย่างต่อเนื่อง
มีเพียงช่วงปี 2523-2525 กำไรลดลงเหลือ 106.7, 39.1, 26.3 ล้านบาท ซึ่งเหตุผลหลักที่ใช้ในการอธิบายก็เป็นเรื่องของภาวะการบินตกต่ำทั่วโลก
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)
นุชนันท์ โอสถานนท์ หรือจะเป็น "เชือดไก่ให้ลิงดู"
เรื่องของ "นุชนันท์ โอสถานนท์" อดีตผู้อำนวยการฝ่ายการเชื้อเพลิงและประกันภัย
ที่ถูกคำสั่งให้ไปประจำสำนักกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน
2531 นั้น ไม่แน่ว่าจะจบลงง่ายๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)
ฉัตรชัย บุญยะอนันต์ บุรุษผู้ลืมไปว่า "การบินไทย" ไม่ใช่ของ "ตี๋ใหญ่" คนเดียว
สำหรับคนที่เกลียดฉัตรชัย จะต้องประณามฉัตรชัยว่า เขาเป็นมังกรผยองที่หลงระเริงในอำนาจจนคิดว่า
"การบินไทย" เป็นของเขาคนเดียว แต่คนที่ชื่นชมในตัวบุรุษผู้นี้ จะต้องบอกว่า
เขาสร้าง "การบินไทย" มาตั้งแต่ยังไม่มีอะไรเลย จนยิ่งใหญ่ทุกวันนี้
น่าจะให้เกียรติเขาบ้าง… ฉัตรชัยในวันนี้คือ "เป้า" แห่งการประเมินและตีค่าที่เจ้าตัวก็คงเครียดแทบกระอัก…!
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)
TG ที่ไม่ใช่การบินไทย แต่เป็น Tomorrow Go!
ปัญหาการดีเลย์เครื่องอย่างรุนแรงมากในช่วงปลายปี 2531 ต่อกับปี 2532 ทำความปวดหัวให้กับผู้บริหารที่มีวีระ
กิจจาทรเป็นอย่างยิ่ง แม้กระทั่งพลอากาศเอก วรนารถ ต้องโดดลงมาช่วยด้วยอีกแรง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)
"ซื้อเครื่องบิน" ฤาจะ "โกง" "กิน" กันได้ง่ายๆ?!?
โยธิน ภมรมนตรี ร่วมงานกับการบินไทยมาตั้งแต่เริ่มตั้งบริษัทในปี 2503 ในตำแหน่งผู้ช่วยกัปตันและเป็นนักบินเที่ยวแรกของการบินไทย
ซึ่งใช้เครื่องยนต์ไอพ่นโคโรนาโด 990 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการใหญ่ฝ่ายปฏิบัติการบินเมื่อปี
2518
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)
การท่าฯในสถานการณ์รุกฆาตการบินไทย
ถ้าเทียบเคียงเรื่องนี้กับสตาร์วอร์ก็ต้องบอกว่าผ่าน EMPIRE STRIKESBACK
มาแล้ว คือสภาพที่การบินไทยฮุบกิจการบริการที่ท่าอากาศยานกรุงเทพมาผูกขาด
สังเวยให้กับธุรกิจของตนชนิดมุ่งแต่ประโยชน์ส่วนตนปัจจุบันก็มาถึงตอน RETURN
OF THE JEDI คือ ทอท.
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)