ธนชาติประเมิน4ทางออกBBLไขปัญหาถอนCAPS
บล.ธนชาติ เผย 4 ทางเลือกแบงก์ กรุงเทพ แก้ปัญหาจุกอกไถ่ถอน CAPS แนะทางแรกออกชุดสอง
มุลค่า 2 หมื่นล้านดอกเบี้ยต่ำที่ 6.5% หรือเพิ่มทุน 2:1 ที่ราคา 40 แต่ต้องยอมรับกำไรต่อหุ้นที่ลด
หรือจะเลือกทำสองแนวทางร่วมกัน
(ผู้จัดการรายวัน 12 มิถุนายน 2546)
ธ.กรุงเทพอ่อนข้อนายก เลื่อนโหวตชี้ชะตาทีพีไอ
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ (จพท.) เลื่อนลงมติเลือกผู้บริหารแผนฯทีพีไอคนใหม่ออกไป
1 สัปดาห์ ตามคำเสนอของลูกหนี้ และแบงก์กรุงเทพ หลัง "ทักษิณ" เข้ามาไกล่เกลี่ย
เสนอแนว ทางตั้งผู้บริหารแผนร่วมกัน เมื่อวันศุกร์ (9พ.ค.) ด้านเจ้าหนี้ต่างประเทศขอนัดหารือร่วมกับนายกฯ
เพื่อสร้างความมั่นใจ ก่อนโหวตในวันที่ 19 พ.ค.นี้
(ผู้จัดการรายวัน 13 พฤษภาคม 2546)
BBLชิงผู้นำบัตรเครดิต ตั้งเป้า2ปีแซงกรุงไทย
แบงก์กรุงเทพ ประกาศสู้ธุรกิจบัตรเครดิต หลังตั้งตัวได้จากเกณฑ์ธุรกิจใหม่ ตั้งเป้าเป็นผู้นำยอดใช้จ่าย
ผ่านบัตรเครดิตภายใน 2 ปี แซงหน้า "บัตรกรุงไทย" เพราะปรับระบบให้บริการใหม่ เพิ่มประสิทธิภาพ
และความรวดเร็ว วางแผนเพิ่มจำนวนบัตรสิ้นปีเป็น 600,000 บัตร "ด้านบัตรกรุงไทย"
ก้าวอีกขั้น เน้นคุณภาพสินเชื่อ มั่นใจยอดผิดนัดชำระยังต่ำเพราะมีระบบป้องกันความเสี่ยงดี
(ผู้จัดการรายวัน 10 มีนาคม 2546)
กองทุนตปท.สนใจแบงก์ หลังปรับตัวดีแก้หนี้เสีย
นายชาติศิริ โสภณพนิช กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงเทพ ในฐานะประธานสมาคมธนาคารไทย
เปิดเผยว่า ได้มีโอกาสเดินทางไปโรดโชว์ในต่างประเทศร่วมกับนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์
โดยในฐานะตัวแทนของกลุ่มธุรกิจสถาบันการเงิน โดยในการโรดโชว์ดังกล่าว ปรากฏว่าภาคสถาบันการเงินได้รับความสนใจจาก
(ผู้จัดการรายวัน 11 กุมภาพันธ์ 2546)
แบงก์กรุงเทพสู้ศึก ปิดทาง KTBดึงลูกค้า
แบงก์กรุงเทพเปิดศึกรับการแข่งขันกับ ธนาคารขนาดใหญ่ โดยเฉพาะกรุงไทยหวังแย่งตำแหน่ง
ผู้นำทางด้านการตลาด ปรับกลยุทธ์ตั้งหน่วยงานดูแลสินเชื่อ 4 ประเภท พร้อมยืนยันไม่เพิ่มทุน-ไม่จ่ายเงิน
ปันผลให้ผู้ถือหุ้นลุ้นราคาในตลาดเอง ขณะที่สลิปส์และแคปกว่า 4.6 หมื่นล้านบาทไม่ต้องเร่งชำระ
เพราะหมดอายุปี 2549 ปีนี้เน้น นโยบายบริหารระมัดระวังต่อเนื่อง เพราะความไม่แน่นอนหลายปัจจัย
(ผู้จัดการรายวัน 27 มกราคม 2546)
USฉุดส่งออกทรุด-ทุนนอกหด"เศรษฐกิจไทยถดถอย"
ฝ่ายวิจัยธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ได้เสนอบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจสหรัฐฯ
ในหัวข้อ"เศรษฐกิจสหรัฐฯยังคงอ่อนแอและการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจยังมีปัญหา"
(ผู้จัดการรายวัน 9 สิงหาคม 2545)
"บัวหลวง"สับ SMEไทยเนิบ ยืนกรานให้กู้
นักวิชาการเผยเอสเอ็มอีไทยมีการปรับตัวล่าช้าอย่างมาก อ้างจากผลงานวิจัยพบมีปัญหารุมเร้ามากมาย
ทั้งปัญหาการตลาด การเงินและ ปัญหาด้านการผลิต
(ผู้จัดการรายวัน 20 มิถุนายน 2545)
ยักษ์หลับ แบงก์กรุงเทพปรับสาขาต่างประเทศ-คอมพิวเตอร์สู้กระแสครอบกิจการของฝรั่ง
แบงก์กรุงเทพปรับแผนสาขาต่างประเทศครั้งใหญ่ เร่งลดต้นุทน หารายได้เพิ่ม
เพื่อแข่งขันกับธนาคารจากซีกโลกตะวันตกที่ซื้อกิจการในเอเชียเป็นว่าเล่น
วางสาขาฮ่องกงเป็นศูนย์กลางคุมสาขาเอเชียตะวันออก และสาขาสิงคโปร์คุมสาขาอินโดนีเซียและมาเลเซีย
รวมถึงการสร้างศูนย์คอมพิวเตอร์ ที่แบงก์มีสิทธิโยกย้ายพนักงานครั้งใหญ่
(ผู้จัดการรายวัน 25 กุมภาพันธ์ 2545)