Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ6  
ผู้จัดการรายวัน32  
ผู้จัดการรายสัปดาห์1  
PR News7  
Total 45  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > รถไฟฟ้ากรุงเทพ, บมจ.


ผู้จัดการรายวัน (11 - 20 of 32 items)
MFCเปิดแผนหาทุนรถไฟฟ้า7สาย4แสนล. MFC ชงสูตรระดมทุนโครงการรถไฟฟ้า 7 เส้นทาง มูลค่า 4.1 แสนล้านบาท แนะใช้ระบบตั๋วร่วมเพื่อลดต้นทุนในการดำเนินธุรกิจ ป้องกันเอกชนคู่สัญญาสัมปทานชาร์จค่าบริการแพงเกินเหตุ คาดราคาเริ่มต้นที่ 10 บาท สถานีต่อไป 2 บาทต่อสถานี เตรียมหารือกรมธนารักษ์เปิดทางเอกชนร่วม พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์รอบบริเวณใกล้เคียงรถไฟฟ้าใต้ดิน ก่อนออก "พร็อพเพอร์ตี้ฟันด์" เสนอขายนักลงทุน เพื่อสร้างรายได้หล่อเลี้ยงโครงการ(ผู้จัดการรายวัน 24 กุมภาพันธ์ 2548)
กบข.เล็งโยกเงินออมภาคสมัครใจลงเมกะโปรเจกต์ กบข.เตรียมโยกเงินจาก "กองทุนออมภาคสมัครใจ" ที่คาดว่าหลังจากจัดตั้งภายใน 12 เดือน จะมีเม็ดเงินมูลค่า 3-5 พันล้านบาท ลงทุนในโครงการ "เมกะโปรเจกต์ระบบราง" ที่เตรียมทำ "ซีเคียวรีไทเซชัน" กว่า 2 แสนล้านบาท ขณะที่ผลการศึกษาการระดมทุนระบบราง MFC ชี้ชัดรัฐบาลไม่จำเป็นต้องเข้าไปซื้อหุ้นคืนจากภาคเอกชน สวนทาง "สุริยะ" ที่จ้องฮุบหุ้น BMCL(ผู้จัดการรายวัน 22 กุมภาพันธ์ 2548)
N-PARKเฉือนหุ้นBMCL โละบริษัทย่อยทิ้งประคองธุรกิจหลัก เอ็นพาร์คปรับแผนเพิ่มสภาพคล่องให้กับธุรกิจ ยอมเฉือนหุ้นที่ถือในรถไฟฟ้ากรุงเทพ (BMCL) ไม่เกิน 725 ล้านหุ้น ราคาขาย 1.52 บาท ให้กับช.การช่าง กลุ่มผู้ถือหุ้นเดิม พร้อมสละสิทธิ์ซื้อหุ้นเพิ่มทุน 24.7 ล้านหุ้น ขณะที่ช.การช่างกวาดเรียบเดินหน้าซื้อหุ้นของเอ็นพาร์ค ส่วนแผนออกหุ้นกู้ 2,000 ล้านบาท รื้อใหม่เสนอขายนักลงทุนในประเทศ เดินหน้าปัดฝุ่นโละบริษัทในเครือทิ้ง เพื่อความโปร่งใสในธุรกิจ(ผู้จัดการรายวัน 1 กุมภาพันธ์ 2548)
ปรับแผนซื้อคืนรถไฟฟ้าตั้งหลักรอหลังต่อขยาย "สุริยะ" ปรับแผนซื้อคืนหุ้นรถไฟฟ้า ประเมินสถานการณ์หลังมีกระแสข่าวคน ในรัฐบาลไม่เห็นด้วย เพิ่มทางเลือก ตัดสินใจซื้อ 100% ซื้อบางส่วน หรือไม่ซื้อเลย 14 ธ.ค.หารือเรื่องเงินกับคลังก่อนให้คำตอบ คาดสรุปไม่ได้อาจต้องชะลอการซื้อหุ้นออก ไปจนกว่าจะสร้างรถไฟฟ้า 294 กม.เสร็จ(ผู้จัดการรายวัน 13 ธันวาคม 2547)
BECLซื้อหุ้นรถไฟฟ้ากรุงเทพเพิ่มพร้อมจ่ายปันผลหุ้นละ 1 บาท เดือนนี้ บอร์ด BECL อนุมัติให้ซื้อหุ้นเพิ่มทุนใน รถไฟฟ้ากรุงเทพ นอกจากนี้ยังลงทุนสร้างสะพานลอยข้ามถนนประชาชื่น โดยให้ ช.การช่าง เป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างวงเงินมูลค่า 98 ล้านบาท พร้อมประกาศจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้นอัตราหุ้นละ 1 บาท กำหนดจ่าย 29 กันยายนนี้(ผู้จัดการรายวัน 1 กันยายน 2547)
SYNTEC ควักเงินกว่า 60 ล้านบ.ซื้อหุ้นเพิ่มทุนในบริษัทย่อย 2 แห่ง บอร์ด SYNTEC ไฟเขียวให้ซื้อหุ้นเพิ่มทุน บมจ.บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำนวน 10,147,058 หุ้น ราคาหุ้นละ 3 บาท รวมทั้งหุ้นเพิ่มทุนของบริษัท ริชชี่ เซ็นเตอร์ แอนด์ ซัพพลาย จำกัด จำนวน 1,187,500 หุ้น ในราคาหุ้นละ 100 บาท เพื่อเป็นการรักษาสัดส่วนการถือหุ้น(ผู้จัดการรายวัน 20 สิงหาคม 2547)
N-PARK ซื้อหุ้นรถไฟฟ้า-ริชชี่ผลงานQ2ขาดทุนเกือบ 200 ล้าน บอร์ด N-PARK อนุมัติซื้อหุ้นเพิ่มทุน "รถไฟฟ้ากรุงเทพ" ราคาหุ้นละ 3 บาท รวมเป็นเม็ดเงินกว่า 148 ล้านบาท พร้อมกับซื้อหุ้นเพิ่มทุน "ริชชี่ เซ็นเตอร์ แอนด์ ซัพพลาย" อีก 80 ล้านบาท เพื่อรักษาสัดส่วนการถือหุ้น รวมเป็นเม็ดเงินกว่า 228 ล้านบาท พร้อมประกาศผลงานQ2ปีนี้ขาดทุนเกือบ 191 ล้านบาท(ผู้จัดการรายวัน 18 สิงหาคม 2547)
N-PARK ดึงฟินันซ่าที่ปรึกษา BMCL "N-PARK" หนุน บล.ฟินันซ่าเข้าเป็นที่ปรึกษาร่วม นำหุ้นรถไฟฟ้าใต้ดิน เข้าตลาดหลักทรัพย์ หลังเข้าถือหุ้น FNS 18% จากก่อนหน้านี้ตั้ง บล.ภัทรเป็นที่ปรึกษาทางการเงินเพียงรายเดียว(ผู้จัดการรายวัน 12 กรกฎาคม 2547)
"เสริมสิน สมะลาภา" เปิดใจ..ถือหุ้นซีเอ็ด..ไม่ขายN-PARK นับตั้งแต่หุ้น N-PARK หรือ บริษัท แนเชอรัล พาร์ค จำกัด (มหาชน) กลับเข้ามาซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ อีกครั้งเมื่อ 23 ก.ค.46 ภายใต้กลุ่มผู้ถือหุ้นใหม่ คนสำคัญ "สว่าง มั่นคงเจริญ" อดีตเจ้าของและผู้บริหารไฟแนนซ์บงล.ไทยรุ่งเรืองทรัสต์ ดูเหมือนทุกย่างก้าวความเคลื่อนไหวของ N-PARK ที่ปรากฏออกมาถูกจับตามองพิเศษ จากผู้คนวงการหุ้นโดยเฉพาะการลงทุนของ N-PARK ที่เป็นไปในลักษณะรวดเร็วและมีจำนวนและมูลค่ามากมาย(ผู้จัดการรายวัน 2 กรกฎาคม 2547)
ผ่าโมเดลจิ๊กซอว์N-PARKเสริมสินยันก้าวมาถูกทาง แนเชอรัล พาร์ค เดินตามสูตร โตก้าวกระโดด โหมขยายอาณาจักรหวังทำธุรกิจแบบครบวงจร ทั้งกุมตลาดการเงิน- อสังหา-ระบบขนส่ง-ก่อสร้าง-ธุรกิจอาหาร พร้อมสยายปีกบุกตลาดต่างประเทศ หวังรายได้เงินตราต่างประ-เทศหล่อเลี้ยงธุรกิจ "เสริมสิน สมะลาภา" ชี้ต้องรู้จักสร้างกลุ่มลูกค้า ใหม่ๆเข้ามาเสริม ระบุเป็นการสร้างอัตราเติบโตแบบก้าวกระโดดตามทฤษฎีโตทั้งแนวราบ-แนวดิ่ง(ผู้จัดการรายวัน 30 มิถุนายน 2547)

Page: 1 | 2 | 3 | 4





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us