ยุทธการเชือดคอตัวเอง ราคาหงส์ ในปี 2528 ขาย 36 ต่อขวด ต้นทุน 36.11 บาท ขาย 43 ต่อขวด ต้นทุน 38.32 บาท


นิตยสารผู้จัดการ( เมษายน 2527)



กลับสู่หน้าหลัก

ข้อมูลจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม-กระทรวงอุตสาหกรรม และกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง ตัวเลขคำนวณโดยกองบรรณาธิการ "ผู้จัดการ"

โควตา (จำนวนขั้นต่ำที่จะต้องผลิตและจำหน่าย) 14.66 ล้านเท 28 ดีกรี/ปี หรือเท่ากับ 312.8 ล้านขวด 750 ซีซี 35 ดีกรี/ปี ซึ่งจะต้องเพิ่มขึ้น 3% ต่อปี (9.38 ล้านขวด)

การจำหน่ายเปรียบเทียบกับโควตา

คาดว่าปี 2528 การจำหน่ายใน 12 เขต จะต่ำกว่าโควตา 25%

ปี 2524 (ขายจริง) ปี 2525 (ขายจริง) ปี 2526 (ขายจริง) ปี 2528 (โควตา)
8.89 ล้านเท 28 ดีกรี/ปี 8.49 ล้านเท 28 ดีกรี/ปี 9.18 ล้านเท 28 ดีกรี/ปี 14.66 ล้านเท 28 ดีกรี/ปี

ทั้งนี้คาดว่า ในปี 2528 จะขายได้สูงสุดไม่เกิน 11 ล้านเท 28 ดีกรี/ปี หรือ 234.67 ล้านขวด 750 ซีซี 35 ดีกรี/ปี

ต้นทุนต่อขวด

ค่าผลประโยชน์ =5,088.4 =12.68 บาท/ขวด 750ซีซี35ดีกรี/ปี 234.67

ค่าปรับที่จำหน่ายขาดโควตา =(14.66-11.0) คูณ 184.8 (ค่าปรับ) 234.67 =2.88 บาท/ขวด

ค่าภาษีสุรา ปัจจุบันขวดละ 11.55 บาท/ขวด 750 ซีซี 35 ดีกรี ดังนั้น ราคาขายส่งสูงสุดของภาษีในพิกัดนี้คือ 36 บาท ถ้าหากราคาขายส่งสูงขึ้นไปกว่านี้ก็จะต้องเข้าข่ายภาษีในพิกัด 32% ของราคาขายส่ง

หากขายส่งในราคาไม่เกิน 36 บาท ต้นทุนรายได้ของรัฐจะเท่ากับ 36.11 บาท/ขวด (21.68+2.88+11.55)

แต่คาดว่าราคาขายส่งจะสูงขึ้นเป็น 43 บาท ซึ่งเท่ากับราคาขายส่งของแม่โขงในปัจจุบันทำให้ต้องเสียภาษีสุราขวดละ 13.76 บาท ดังนั้น ต้นทุนต่อขวดจะตก 38.32 บาท/ขวด (21.68+2.88+13.76) โปรยในเรื่อง 1."ลื้ออยากได้อะไรวะ" สฤษดิ์ ธนะรัชต์ "ผมขอทำแม่โขงขายครับ" สหัส มหาคุณ

2."การดึงผู้มีอำนาจเข้ามามีส่วนร่วมด้วยก็จะเป็นการเสริมฐานแม่โขง"

3."คนเราถ้าต้องรอถึง 10 ปี เมื่อการรอสิ้นสุดลงก็ต้องมีผลขึ้นมาบ้าง"

4."อำนาจทางการเมืองก็เลยพ่วงเอาเถลิงเป็นเงื่อนไขว่าแม่โขงต้องเถลิงทำ"

5. "เจริญเป็นคนพูดเก่ง เอาใจคนเก่ง เข้าผู้ใหญ่ได้นิ่มนวล ส่วนเถลิงพูดไม่เป็น"

6. "แต่พลเอกกฤษดิ์ สีวะรา เกิดตายเสียก่อนที่สัญญาแม่โขงช่วงที่สองจะหมด"

7. "ทั้งเตชะไพบูลย์ และ เถลิง เหล่าจินดา รู้ว่า สัญญาช่วงที่สามคงจะไม่ง่ายเหมือนช่วงที่สอง"

8. "การพ่ายแพ้ครั้งนั้นของกลุ่มเถลิงเป็นการพ่ายแพ้อย่างยับเยิน ทั้งนี้เพราะกลุ่มเถลิงประมาทกลุ่มเตชะไพบูลย์จนเกินไป" 9. "งานนี้เตชะไพบูลย์ชนะได้เพราะหลักการเขาดี ตรงที่เขาให้ประโยชน์รัฐสูงสุดซึ่งข้อนี้คนอื่นจะเถียงไม่ได้"

10. เจ้าของ "เมื่อหงส์ทองโผผินบินผยอง" เป็นคนมีความอดทนสูงพร้อมที่สู้ทุกรูปแบบ

11. "จากวันนั้นจนถึงวันนี้ท่าทีของกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งเคยปกป้องผลประโยชน์ของแม่โขงในฐานะเป็นสินค้าของกระทรวงอุตสาหกรรมก็เปลี่ยนไป"

12. "มีกลุ่มเหล้ากลุ่มหนึ่งแกล้งทำเงินตกประมาณ 200 ล้านบาท แถวๆ กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อให้แม่โขงขึ้นราคา"

13. "ไม่มีอยากจะสู้ด้วย เพราะราคาที่เสนอนั้น มันบ้าเลือด ดูแล้วคิดเฉพาะต้นทุนอย่างเดียว ก็เห็นได้ว่าขายไม่ออก"

14. "ธนาคารกรุงเทพนอกจากหุ้นลมที่ได้ 20% จากกลุ่มเถลิงแล้วยังมีสัญญาโรงเหล้าอีก 5 โรง เป็นประกัน"



กลับสู่หน้าหลัก

Creative Commons License
ผลงานนี้ ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย



(cc) 2008 ASTVmanager Co., Ltd. Some Rights Reserved.