|
Today's News
Cover Story
New & Trend
Indochina Vision
GMS in Law
Mekhong Stream
Special Report
World Monitor
on globalization
Beyond Green
Eco Life
Think Urban
Green Mirror
Green Mind
Green Side
Green Enterprise
Entrepreneurship
SMEs
An Oak by the window
IT
Marketing Click
Money
Entrepreneur
C-through CG
Environment
Investment
Marketing
Corporate Innovation
Strategising Development
Trading Edge
iTech 360°
AEC Focus
Manager Leisure
Life
Order by Jude
The Last page
|
 |
พม่าหลังการเลือกตั้งเมื่อพฤศจิกายน 2553
1. Communication Link จะเห็นการเปลี่ยนแปลงด้านการค้า การลงทุน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคมขนส่ง
Dawei Port ท่าเรือทวายรัฐบาลพม่าได้มีข้อตกลงและสัมปทานให้กับเอกชนของไทย คือ บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) เป็นผู้พัฒนาท่าเรือน้ำลึกขนาดใหญ่
China Rail Link ระบบขนส่งทางรางของพม่า ถ้าสร้างเสร็จครบวงจรจะมีระบบรางเชื่อมจากนครคุนหมิง ย่างกุ้ง ทวาย แหลมฉบัง และกรุงเทพฯ กลายเป็นเส้นทางของอาเซียน
2. National Unity นโยบายพม่าจะมีการรวมประเทศมากขึ้น โดยใช้สัญลักษณ์ของสามวีรกษัตริย์ในอดีตที่ประเทศพม่า ถือเป็นมหาราช ได้แก่ พระเจ้าอโนรธา พระเจ้าบุเรงนอง หรือพม่าเรียกว่า บาติงนอง และพระเจ้าอลองพญา
3. Border Change นโยบายของพม่าภายใต้ความเป็นเอกภาพของประเทศ หรือนโยบายหนึ่งประเทศหนึ่งกองทัพ จะดำเนินการแก้ปัญหาชนกลุ่มน้อยอย่างเป็นระบบส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการค้าแบบดั้งเดิม
4. Thailand Brand สินค้าไทยได้รับการยอมรับจากคนพม่า ถึงแม้จะแพงกว่าแต่หากสอดแทรกตลาดเข้าไปได้ ก็จะถึงเป็นโอกาสด้านการค้า ซึ่งสินค้าไทยเป็นที่นิยมของคนพม่า
5. Energy Resources นอกจากมีทรัพยากรทางทะเลแล้ว ยังเป็นแหล่งน้ำมันและแหล่งก๊าซที่ใหญ่ของโลก ซึ่ง ปตท. ของไทยเข้าไปลงทุนในอ่าวเบงกอล อ่าวเมาะตะมะ กลุ่มเกาะมะริดและในทะเลอันดามัน
6. Industrial Investment ศักยภาพของพม่าประกอบด้วยฐานประชาชนถึง 58 ล้านคน กว่า 70% เป็นคนวัยทำงาน กอปรกับการมีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ทางด้านป่าไม้ เป็นทั้งแหล่งอัญมณี ทับทิม หยก แหล่งประมงในภาคใต้
7. Agriculture Investment รัฐบาลทหารพม่าพยายามส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้ได้มากที่สุด ด้วยการสนับสนุนการบุกเบิกและฟื้นฟูที่ดินเพื่อการผลิต ผลผลิตเกษตรกรรมส่งออก 5 อันดับแรกได้แก่ ข้าว ถั่ว/ข้าวโพด/อ้อย ยางพารา ไม้สักและไม้เนื้อแข็ง และสินค้าประมง
ที่มา: ธนิต โสรัตน์, มกราคม 2554.
|
|
 |
|
|