|
Today's News
Cover Story
New & Trend
Indochina Vision
GMS in Law
Mekhong Stream
Special Report
World Monitor
on globalization
Beyond Green
Eco Life
Think Urban
Green Mirror
Green Mind
Green Side
Green Enterprise
Entrepreneurship
SMEs
An Oak by the window
IT
Marketing Click
Money
Entrepreneur
C-through CG
Environment
Investment
Marketing
Corporate Innovation
Strategising Development
Trading Edge
iTech 360°
AEC Focus
Manager Leisure
Life
Order by Jude
The Last page
|
แนวไม้ไผ่รวกใช้บรรเทาความรุนแรงของการกัดเซาะชายฝั่งได้ เพราะยังพบว่ายังมีการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณที่ไม่มีแนวไม้ไผ่ป้องกัน และมีอัตราการกัดเซาะน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับแปลงที่ไม่มีแนวป้องกัน
มีการทับถมของตะกอนดินด้านหลังแนวไม้ไผ่อย่างเห็นได้ชัด (อัตราทับถมสูงสุดเฉลี่ย 46 เซนติเมตร ในรอบ 1 ปี) ในขณะที่เกิดการสูญเสียตะกอนดินในแปลงที่ไม่มีแนวไม้ไผ่
แนวไม้ไผ่รวกช่วยชะลอความเร็วของกระแสน้ำได้ นอกจากนี้ยังช่วยลดแรงปะทะของลม ด้านหลังแนวไม้ไผ่รวกได้ในระดับหนึ่ง (ทั้งนี้แนวไม้ไผ่รวกมีความสูงพ้นพื้นดินประมาณ 4 เมตร)
แนวไม้ไผ่ควรปักในระยะไม่เกิน 30 เมตรจากชายฝั่ง
ดินตะกอนที่ทับถมมีธาตุอาหารสูงเหมาะแก่การปลูกพืชและฟื้นฟูป่าชายเลน
ที่มา: ธวัต แทนไฮ, 2549. อ้างจากโครงการจัดทำแผนหลักและแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลบริเวณอ่าวไทยตอนบน กรมทรัพยากรฯ
|
|
|
|
|