มิถุนายน 2528 |
- ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2528
ตระกูลอัศวินวิจิตรครอบครองหุ้นประมาณ 11% หรือ 2.7 แสนหุ้น
อวยชัย อัศวินวิจิตร ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการธนาคาร
มีมติให้เพิ่มทุนจาก 400 ล้านบาทเป็น 600 ล้านบาทภายใน 3 ปี
|
2529 |
- โครงสร้างผู้ถือหุ้นใหญ่ มีดังนี้
- กระทรวงการคลัง 7.32%
- กลุ่มเพ็ญชาติ 30%
- กลุ่มชลวิจารณ์ (ครอบครัวของบรรเจิด, ตระกูลอัษฎาธร,
ตระกูลกรรณสูต 26 - 27%
- กลุ่มอัศวินวิจิตร 11%
รวม 74 - 75%
|
กรกฎาคม 2530 |
- กลุ่มเพ็ญชาติขายหุ้นให้อาหรับ แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น
(เอบีซี) 25% |
สิงหาคม 2530 |
- ออกหุ้นใหม่ 500,000 หุ้น มูลค่า 100 ล้านบาท โดยมีผู้รับประกันการจำหน่ายหุ้น
2 ราย แบ่งกันรายละครึ่งหนึ่ง คือ บงล.ทิสโก้ และบงล.สหธนกิจไทย
- โครงสร้างผู้ถือหุ้นใหญ่มีดังนี้
- กระทรวงการคลัง 7.33%
- กลุ่มเพ็ญชาติ 6%
- เอบีซี 25%
- อัศวินวิจิตร 12%
- กลุ่มชลวิจารณ์ 39%
รวม 89.33%
|
สิงหาคม 2531 |
- ชำนาญ เพ็ญชาติ ถึงแก่กรรม |
มีนาคม 2532 |
- พันธมิตรกลุ่มเพ็ญชาติ - อัศวินวิจิตร - เอบีซี ร่วมมือกันทำ
"รัฐประหาร" กลางที่ประชุมใหญ่สหธนาคาร แต่ไม่สำเร็จ |
เมษายน 2532 |
- ราคาหุ้นสหธนาคารในตลาดหลักทรัพย์ฯ มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มสูงมากถึง
462 บาท ภายในช่วงเดือนเดียว
- บรรเจิดประกาศลาออกจากตำแหน่งประธานกรรมการบริหาร โดยให้กระทรวงการคลังแต่งตั้งคนกลางเข้ามาดำรงตำแหน่งแทน
|