Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
 


bulletToday's News
bullet Cover Story
bullet New & Trend

bullet Indochina Vision
bullet2 GMS in Law
bullet2 Mekhong Stream

bullet Special Report

bullet World Monitor
bullet2 on globalization

bullet Beyond Green
bullet2 Eco Life
bullet2 Think Urban
bullet2 Green Mirror
bullet2 Green Mind
bullet2 Green Side
bullet2 Green Enterprise

bullet Entrepreneurship
bullet2 SMEs
bullet2 An Oak by the window
bullet2 IT
bullet2 Marketing Click
bullet2 Money
bullet2 Entrepreneur
bullet2 C-through CG
bullet2 Environment
bullet2 Investment
bullet2 Marketing
bullet2 Corporate Innovation
bullet2 Strategising Development
bullet2 Trading Edge
bullet2 iTech 360°
bullet2 AEC Focus

bullet Manager Leisure
bullet2 Life
bullet2 Order by Jude

bullet The Last page


ตีพิมพ์ใน นิตยสารผู้จัดการ
ฉบับ มีนาคม 2543








 
นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2543
ยุคการเปลี่ยนตัวผู้บริหารบริษัทในตลาดหุ้น             
 


   
search resources

Industry




การเปลี่ยนแปลงผู้บริหารในองค์กรต่างๆ อาจเป็นเรื่องปกติ ในภาวะ ที่ เศรษฐกิจไม่มีปัญหา เพื่อจะพัฒนาองค์กรให้ดีขึ้น ในทางตรงข้าม เมื่อเศรษฐกิจ เข้าสู่ภาวะวิกฤติ อย่างเช่นในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา แรงบีบ เพื่อให้องค์กรธุรกิจ ทุกแห่งตัองปรับตัว มีเข้ามาจากหลายด้าน

"ผู้จัดการ" ได้ติดตามการปรับตัวขององค์กรธุรกิจต่างๆ พบว่าในช่วง ที่ผ่านมา ความเคลื่อนไหว ที่เกิดขึ้นถี่ที่สุดเรื่องหนึ่ง คือ เรื่องของการปรับเปลี่ยนตัวผู้บริหาร

เฉพาะในตลาดหลักทรัพย์ฯ พบว่าในช่วงตั้งแต่ต้นปี 2542 เป็นต้นมา มีถึงเกือบ 100 บริษัท ที่มีการเปลี่ยน แปลงผู้บริหารระดับสูง ตั้งแต่ระดับปฏิบัติการ ไปจนถึงระดับนโยบาย ไม่นับรวมการเปลี่ยนตัวกรรมการที่เกิดขึ้นตามปกติ

เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงมีหลายสาเหตุ ตั้งแต่การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ เพื่อตั้งรับกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อย่างกรณีของเจริญโภคภัณฑ์อาหาร (CPF)

การเข้ามาถือหุ้นของนักลงทุนต่างชาติ ในสถาบันการเงินอย่างเช่นกรณี ของสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดนครธน (SCNB) หรือยูโอบีรัตนสิน (UOBR)

หรือเกิดจากการมีการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างธนาคารกรุงไทย (KTB)

บางบริษัท ผู้ที่มีส่วนก่อตั้ง และร่วมบริหารมาเป็นเวลานาน จำเป็นต้องลาออกเพราะแรงบีบจากทางการ อย่างเช่นกรณีธนาคารศรีนคร (BMB)

และบางแห่งต้องลาออกเพราะไม่สามารถรับกับนโยบายของผู้ถือหุ้นใหญ่รายใหม่ได้ อย่างกรณีดีบีเอสไทยทนุ (DTDB)

นับเป็นภาพสะท้อนของภาคธุรกิจของไทย ที่น่าบันทึกไว้เป็นอย่างยิ่ง

   




 








upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us