Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
 


bulletToday's News
bullet Cover Story
bullet New & Trend

bullet Indochina Vision
bullet2 GMS in Law
bullet2 Mekhong Stream

bullet Special Report

bullet World Monitor
bullet2 on globalization

bullet Beyond Green
bullet2 Eco Life
bullet2 Think Urban
bullet2 Green Mirror
bullet2 Green Mind
bullet2 Green Side
bullet2 Green Enterprise

bullet Entrepreneurship
bullet2 SMEs
bullet2 An Oak by the window
bullet2 IT
bullet2 Marketing Click
bullet2 Money
bullet2 Entrepreneur
bullet2 C-through CG
bullet2 Environment
bullet2 Investment
bullet2 Marketing
bullet2 Corporate Innovation
bullet2 Strategising Development
bullet2 Trading Edge
bullet2 iTech 360°
bullet2 AEC Focus

bullet Manager Leisure
bullet2 Life
bullet2 Order by Jude

bullet The Last page


ตีพิมพ์ใน นิตยสารผู้จัดการ
ฉบับ กรกฎาคม 2534








 
นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534
ประวัติศาสตร์การเมืองของแบงก์ฝรั่งเศส             
 


   
search resources

เชียร์สัน เลห์เมน
Banking and Finance
France




เพราะอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลฝรั่งเศสมาแสนนาน 3 แบงก์ยักษ์ใหญ่ของประเทศจึงผูกพันกับสามนโยบายอย่างใกล้ชิด สายสัมพันธ์แบบนี้มีสิทธิทำให้กิจการรุ้งเรืองหรือฟุบเพราะว่าขาดทุนยับก็ได้

จากรายงานของเชียร์สัน เลห์เมน แห่งอังกฤษ เมื่อเร็วนี้ได้ชี้ให้เห็นถึงเงือนปมทางประวัติศาสตร์ หลายอย่างด้วยกัน

แบงก์ ฝรั่งเศษมีต้นทุนดำเนินงานสูงมากส่วนใหญ่เป็นเพราะบทบาทของการเป็นเครื่องมือรัฐบาล ในด้านที่เกี่ยวกับนโยบายการเงิน แบงก์ในฝรั่งเศสมีลักษณะเหมือนในประเทศโลกที่สามที่มองว่าการเพิ่มตำแหน่งงานคือสิ่งที่ดี ทำให้ตำแหน่งแบงก์มีคนล้มงานมากมาย

แบงก์ในฝรั่งเศสได้ชื่อว่าเป็นแบงก์ที่ใหญ่สุด มาเป็นหลายปี จากการใช้ตลาดระหว่างธนาคารนั้นเอง เมื่อตลาดในประเทศถูกจำกัดการเติมโตของสินเชื่อ แบงก์ฝรั่งเศสจึวงต้องดิ้นรนสู่ตลาดต่างประเทศผ่านทางตลาดระหว่างธนาคารซึ่งมักจะคิด ส่วนต่างกำไรในราคาต่ำ ทำให้บัญชีงบดุลของฝรั่งเศส ดูดีมากและเต็มไปด้วยความน่าทึ่ง แต่ไม่ได้เรื่องเลยเมื่อมองถึงกำไรที่ควรได้

เพราะว่าแบงก์ฝรั่งเศสเหล่านี้ ไม่จำเป็นต้องสร้างกำไรมากนัก จึงกล้าลดส่วนต่างกำไรของตนในหลายเขนงธุรกิจ เพื่อแข่งขันกับคู่แข่งอื่นๆ ให้ได้ในแขนงธุรกิจหนึ่งที่น่าสนใจคือการโอนเงิน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการโอนเช็คและเคลียร์เช็ค เมื่อไม่นานมานี้ ธุรกิจกู้จำนองก็มีการแข่งขันที่เข้มข้นมาก จนกระทั่งส่วนต่างกำไรลดลงต่ำกว่าระดับสากล และในตลบาดเครติดการ์เอง แบงก์ทั่งหลายก็ต้องกัดฟันทำไป ในสภาพส่วนต่างกำไรแทบจะไม่มีอยู่เลย

นับจากปลายทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา มีความพยายามที่จะแก้ปัญหาส่วนที่เกิดขึ้นนี้ ทำให้จำนวนพนักงานลดลง ต้นทุนการเคลียริงเช็ค ลดลงมาอยู่ในระดับที่ควบคุมได้ และการปฏิวัติเงินพลาสติกเริ่มส่งผลเด่นชัด เมื่อจำนวนการใช้เครื่องลดลงเป็นเครื่องทดสอบเครดิต ลีอองส์ "ยุคใหม่" ได้เป็นอย่างดี

   




 








upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us