Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
 


bulletToday's News
bullet Cover Story
bullet New & Trend

bullet Indochina Vision
bullet2 GMS in Law
bullet2 Mekhong Stream

bullet Special Report

bullet World Monitor
bullet2 on globalization

bullet Beyond Green
bullet2 Eco Life
bullet2 Think Urban
bullet2 Green Mirror
bullet2 Green Mind
bullet2 Green Side
bullet2 Green Enterprise

bullet Entrepreneurship
bullet2 SMEs
bullet2 An Oak by the window
bullet2 IT
bullet2 Marketing Click
bullet2 Money
bullet2 Entrepreneur
bullet2 C-through CG
bullet2 Environment
bullet2 Investment
bullet2 Marketing
bullet2 Corporate Innovation
bullet2 Strategising Development
bullet2 Trading Edge
bullet2 iTech 360°
bullet2 AEC Focus

bullet Manager Leisure
bullet2 Life
bullet2 Order by Jude

bullet The Last page


ตีพิมพ์ใน นิตยสารผู้จัดการ
ฉบับ กุมภาพันธ์ 2543








 
นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543
7-Eleven             
โดย วิรัตน์ แสงทองคำ
 

   
related stories

ซีพี ศตวรรษที่ 21 ภาระสุดท้าย ธนินท์ เจียรวนนท์

   
search resources

Franchises




ปี 2506 บริษัทเปิดตัวสินค้าในปี 2508 และเริ่ม ขายแฟรน ไชส์ 7-Eleven ในสหราชอาณาจักร ในปี 2514 และญี่ปุ่น ในปี 2516 นับ จากปี 2534-6 ยอดขายของกิจการลดลงเรื่อยมาจนต้องปิดกิจการที่มีผลประกอบการย่ำแย่ และเริ่มปรับปรุงกิจการที่เหลือ พร้อมกับปรับปรุงสินค้าในร้านเสียใหม่ โดยเพิ่มรายการบัตรโทรศัพท์แบบจ่ายล่วงหน้าในปี 2538 และในปี 2541 เซาธ์แลนด์ก็ได้ให้บริการโทรศัพท์เซลลูลาร์แบบจ่ายล่วงหน้า และเริ่มทดลองจุดบริการอิเล็กทรอนิก แบงกิ้ง ซึ่งทำ ให้ลูกค้าใช้บริการทั้งในด้านเงินสด เช็ค การชำระค่าบริการต่างๆ รวมทั้งโอนเงินได้

เมื่อสองปีก่อนเซาธ์แลนด์ยังเริ่มให้บริการระบบ ข้อมูลค้าปลีก อิเล็กทรอนิก เพื่อเชื่อมโยงร้านค้าต่างๆ ที่ อยู่ในเครือข่ายของบริษัทเซาธ์แลนด์ เปลี่ยนชื่อเป็น 7-Eleven Inc. ในเดือนเมษายน ปีที่แล้ว เพื่อให้สอดคล้องกับธุรกิจของบริษัท

แม้ว่าทำเล ที่ตั้งร้านส่วนใหญ่ในปัจจุบันจะให้บริการ น้ำมันซิทโก (Citgo) แต่สินค้าหลัก ( ซึ่งรวมทั้งสเลอร์ปี, เบียร์ และบุหรี่) ก็ทำยอดขายได้ถึงกว่า 70% ของยอดขายรวม

7-Eleven ยังมีร้านค้าราว 240 แห่งในเม็กซิโก และขายไลเซนส์ชื่อ 7- Eleven อีกนับพันแห่งทั่วโลก ส่วน 7 -Eleven Japan ซึ่งอิโตะ-โยกาโดะ (Itoh-Yokado) ถือหุ้นอยู่ 51% ( และถือหุ้นใหญ่ถึงบริหารร้าน 2534) ด้วยในปี Inc. 7-Eleven ใน 65%> 7-Eleven กว่า 7,200 แห่งในญี่ปุ่น และฮาวาย อีกทั้งมีผู้ซื้อไลเซนส์ และ ผู้ร่วมธุรกิจอื่นๆ ในสหรัฐฯ และอีก 16 ประเทศดำเนินกิจการ ร้านอีกราว 5,700 แห่ง

บริษัทกำลังเติบโตโดยวิธีการสร้างเชนร้านใหม่ๆ และซื้อเชนอื่นๆ โดย เน้นตลาดที่มีร้านดำเนินการอยู่ก่อน แล้วเป็นหลัก นอกจากนั้น 7-Eleven ยังพยายามเพิ่มยอดขายโดยการเสนอสินค้าใหม่ๆ รวมทั้ง "คาเฟ คูลเลอร์" หรือ กาแฟคาปูชิโนเย็น และบัตรโทรศัพท์เซลลูลาร์แบบชำระล่วงหน้า

ในประเทศไทย ซีพีซื้อลิขสิทธิ์ระบบแฟรนไ ชส์ 7-Eleven มาเปิดกิจการในเมืองไทยในปี 2531 จากนั้น ก็ทยอยเปิดสาขาทั้งของตนเอง และขายแฟรนไชส์อย่างรวดเร็ว ต่อเนื่องภายใน 10 ปีก็ทะลุ 1,000 สาขา โดยยึดโมเดลจากญี่ปุ่น ในเวลาเดียวกันก็ซื้อลิขสิทธิ์นี้ในการลงทุน ในจีนแผ่นดินใหญ่ และเริ่มเปิดในปี 2540

ที่มา : เรียบเรียงจากข้อมูลในอินเตอร์เน็ต และผู้เขียนเอง

   




 








upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us