Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
 


bulletToday's News
bullet Cover Story
bullet New & Trend

bullet Indochina Vision
bullet2 GMS in Law
bullet2 Mekhong Stream

bullet Special Report

bullet World Monitor
bullet2 on globalization

bullet Beyond Green
bullet2 Eco Life
bullet2 Think Urban
bullet2 Green Mirror
bullet2 Green Mind
bullet2 Green Side
bullet2 Green Enterprise

bullet Entrepreneurship
bullet2 SMEs
bullet2 An Oak by the window
bullet2 IT
bullet2 Marketing Click
bullet2 Money
bullet2 Entrepreneur
bullet2 C-through CG
bullet2 Environment
bullet2 Investment
bullet2 Marketing
bullet2 Corporate Innovation
bullet2 Strategising Development
bullet2 Trading Edge
bullet2 iTech 360°
bullet2 AEC Focus

bullet Manager Leisure
bullet2 Life
bullet2 Order by Jude

bullet The Last page








 
ผู้จัดการรายวัน27 ธันวาคม 2549
ชง 3 ทางเลือกบริษัทต่างด้าวปรับตัว             
 


   
search resources

Commercial and business




นายประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ในฐานะประธานคณะกรรมการปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ.2542 เปิดเผยว่า ได้สรุปผลการแก้ไขกฎหมายเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยได้แก้ไขคำนิยามคนต่างด้าวที่จะเพิ่มสิทธิในการออกเสียงเข้ามาดูควบคู่กับการดูสัดส่วนการถือหุ้น จากเดิมที่จะดูเพียงสัดส่วนการถือหุ้นอย่างเดียว หมายความว่าต่อไปนี้หากคนต่างชาติที่เข้ามาถือหุ้นหรือมีสิทธิออกเสียงเกิน 50% ก็ให้ถือว่าเป็นธุรกิจต่างด้าว

นอกจากนี้ ยังมีการปรับปรุงบัญชีแนบท้ายของกฎหมาย โดยบัญชี 1 และ 2 คงเดิม แต่บัญชี 3 โดยธุรกิจบริการที่มีกฎหมายดูแลเฉพาะ เช่น การเงิน ท่องเที่ยว ประกันภัย หลักทรัพย์ ให้ยกเว้นออกจากบัญชี และไม่ต้องขออนุญาต เนื่องจากมีกฎหมายดูแลแล้ว ส่วนธุรกิจค้าปลีก กำหนดให้ต้องขออนุญาต

“จะเสนอให้นายเกริกไกร จีระแพทย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ พิจารณาภายในสัปดาห์นี้ โดยจะเสนอ 3 แนวทางให้รมว.พาณิชย์ตัดสินใจหลังจากที่เปลี่ยนแปลงคำนิยามใหม่ คือแนวทางแรก ถ้าธุรกิจที่ไม่ผิดกฎหมายเดิม แต่เมื่อเปลี่ยนแปลงคำนิยามแล้วผิด ก็ให้ธุรกิจเหล่านั้นมาลงทะเบียนเป็นบริษัทต่างชาติภายใน 1-2 ปี เพื่อดำเนินกิจการต่อไปได้ ซึ่งจะครอบคลุมทั้ง 3 บัญชี แนวทางที่สอง จะให้ระยะเวลาบริษัททั้งหมดปรับตัว หลังการแก้ไขคำนิยามใหม่ เพื่อให้มีโครงสร้างที่ถูกต้อง ซึ่งจะมีการเสนอระยะเวลาปรับตัวตั้งแต่ 1-3 ปี และแนวทางที่ 3 ยกเว้นให้เฉพาะธุรกิจในบัญชี 3 ที่มาลงทะเบียนปรับตัว เพื่อดำเนินกิจการต่อไปได้เท่านั้น”   




 








upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us