Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
 


bulletToday's News
bullet Cover Story
bullet New & Trend

bullet Indochina Vision
bullet2 GMS in Law
bullet2 Mekhong Stream

bullet Special Report

bullet World Monitor
bullet2 on globalization

bullet Beyond Green
bullet2 Eco Life
bullet2 Think Urban
bullet2 Green Mirror
bullet2 Green Mind
bullet2 Green Side
bullet2 Green Enterprise

bullet Entrepreneurship
bullet2 SMEs
bullet2 An Oak by the window
bullet2 IT
bullet2 Marketing Click
bullet2 Money
bullet2 Entrepreneur
bullet2 C-through CG
bullet2 Environment
bullet2 Investment
bullet2 Marketing
bullet2 Corporate Innovation
bullet2 Strategising Development
bullet2 Trading Edge
bullet2 iTech 360°
bullet2 AEC Focus

bullet Manager Leisure
bullet2 Life
bullet2 Order by Jude

bullet The Last page


ตีพิมพ์ใน นิตยสารผู้จัดการ
ฉบับ พฤษภาคม 2543








 
นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2543
สูตรลงทุนแบบใหม่ของ เอชแอนด์คิว             
 


   
search resources

เอช แอนด์ คิว (ประเทศไทย)
วีระพันธ์ พูลเกษ
Venture Capital




ถึงใน ช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เอชแอนด์คิวจะเป็นตัวแทนนำหุ้นของบริษัทดอทคอม ที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหุ้นแนสแดคเป็นจำนวนมากก็ตาม แต่สำหรับในไทย เอชแอนด์คิวยังต้องไม่มีการเคลื่อนไหวในเรื่องเหล่านี้อย่างเป็นรูปธรรม อุปสรรคสำคัญของงานนี้ อยู่ ที่ demand กับ supply ไม่สอดคล้องกัน เพราะในขณะที่ธุรกิจอินเทอร์เน็ต หรือ ซอฟต์แวร์ใ นไทย ล้วนแต่เป็นธุรกิจ ขนาดเล็ก ที่เริ่มต้นจากคนเพียงสองสามคนที่มากไปกว่านั้น ก็คือ กลุ่มเป้าหมาย เป็นตลาดในประเทศ แต่การลงทุนของเอชแอนด์คิว จะต้องอยู่ใน ระดับ 10 ล้านเหรียญสหรัฐเป็นอย่างต่ำ

นั่นหมายถึงบริษัทนั้น จะต้องมีขนาดของธุรกิจ ที่ใหญ่พอควร ซึ่งต้องไม่ใช่ตลาดในไทยเท่านั้น เพราะเป็นตลาดที่ยังจำกัดอยู่มาก จำนวนผู้ใช้อิน เทอร์เน็ต ที่มีอยู่ไม่ถึง 1 ล้านราย ซึ่งไม่เหมาะสมกับเม็ดเงินในระดับนี้

วีระพันธ์ พูลเกษ กรรมการผู้จัดการ เอชแอนด์คิว ประเทศไทยบอกว่า ทางออกของเอชแอนด์คิว ก็คือ การจะตั้งเป็นส่วนงาน ที่เรียกว่า Internet in- cubator เพื่อเข้าไปลงทุนในธุรกิจอินเทอร์เน็ตอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งจะประกอบไปด้วยทีมงานด้านจัดการที่มีความรู้ความชำนาญในเรื่องของการทำธุรกิจ รู้เรื่องเกี่ยวกับไฟแนนซ์ เข้าไปลงทุน และเข้าไปช่วยเหลือในเรื่องความรู้ทางด้านธุรกิจให้กับบริษัท ที่เข้าไปลงทุน

"มันคล่องตัวกว่าเยอะ ถ้าจะให้เอาเอชแอนด์คิวไปลงมันก็ไม่สอดคล้องกัน ขนาดกองทุนเราใหญ่ ก็จะลงไม่กี่บริษัท เพราะถ้าลงทุนเยอะไป จะเอาเวลา ที่ไหนไปดูผลที่ตามมา ซึ่งอาจจะเสียหายได้"

รูปแบบการลงทุนของ Internet incubator ของเอชแอนด์คิว ยังคงเป็นลักษณะเดียวกับ venture capital ทั่วไป คือ จะปล่อยให้เจ้าของกิจการทำธุรกิจไป แต่จะมีทีมงานเข้าไปช่วยในบางเรื่อง หากเจ้าของกิจการมีไอเดียที่ดี ก็อาจให้ดูแลด้านเทคนิคัลไป หากไม่อยากบริหารองค์กรหน่วยงานจะช่วยหากรรมการผู้จัดการหาคนดูแลด้านไฟแนนซ์ให้

"นโยบายของเอชแอนด์คิว เราพยายามปรับให้เข้ากับตลาดแต่ละประเทศ และเกือบทุกประเทศในอาเซียน เราก็พยายามทำเหมือนกัน เป็นไอเดีย เดียวกัน เพราะอย่างฟิลิปปินส์ และ มาเลเซีย เราก็เจอปัญหาแบบนี้เหมือนกัน และถ้ารวมกันในเรื่องของภาคพื้นได้ เราก็อยากจะทำ" วีระพันธ์เล่า

ถึง แม้จะหาทางออกให้กับธุรกิจได้แล้วก็ตาม แต่การแสวงหาโอกาสของธุรกิจในบริษัทดอทคอม ก็ยังอยู่ในช่วงของการมองหาลู่ทาง และคัดสรรธุรกิจ ที่จะเข้าไปลงทุนด้วย เพราะไม่ใช่ธุรกิจอินเทอร์เน็ตทั้งหมด ที่จะมีอนาคต สำหรับวีระพันธ์แล้ว ต้องไม่ใช่ธุรกิจอินเทอร์เน็ต ที่เป็นบิสซิเนสทู คอนซู เมอร์ หรือ บีทูซี ซึ่งเป็นการค้าขายระหว่างธุรกิจไปยังผู้บริโภคปลายทาง

"บริษัทอินเทอร์เน็ต ที่ทำธุรกิจบีทูซี ในสหรัฐอเมริกา ก็มีแค่อเมซอน.คอม เท่านั้น ที่คนส่วนใหญ่นึกได้ ส่วนเบอร์2 เบอร์ 3 หรือเบอร์ 4 ไม่มีคนรู้จัก นั่นก็คือ การจะทำธุรกิจนี้ได้ต้องเป็นอันดับ 1 คือ ต้องใหญ่ไปเลย ถ้าไม่ใหญ่จริงในที่สุด ก็อยู่ไม่ได้" วีระพันธ์สะท้อนแนวคิด

และ ที่สำคัญคือ กลุ่มเป้าหมายของ ธุรกิจบีทูซี คือ ผู้บริโภคทั่วไป ซึ่งการที่กลุ่มผู้บริโภคกว้าง ก็เป็นเรื่องยาก ที่จะทำธุรกิจให้ตอบสนองกับกลุ่มคนจำนวนมาก ได้ พูดง่ายๆ ความเสี่ยงของธุรกิจบีทูซีมีอยู่มาก เขาเชื่อว่าในที่สุดจะเป็นตลาดของผู้ประกอบการจากต่างชาติ ที่เข้ามาเมืองไทย เพื่อทำธุรกิจนี้เอง โอกาส ที่บริษัทของ ไทยจะเติบโตในตลาดนี้จึงเป็นเรื่องยาก

เขามอง ว่า โอกาสของตลาดน่าจะอยู่ ที่ธุรกิจบิสซิเนส ทู บิสซิเนส หรือ b to b มีขนาดตลาดที่ใหญ่มาก และมีอนาคตที่ดีกว่า เพราะธุรกิจจะใช้ประโยชน์จากการ นำอินเทอร์เน็ตมาช่วยลดต้นทุนในการทำธุรกิจเรื่องของ ซัปพลายเชนแมเนจเม้นท์

วีระพันธ์พบว่า ธุรกิจอินเทอร์เน็ตของไทย ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของธุรกิจด้านข้อมูล หรือ content และการออกแบบเว็บไซต์ ที่เป็นเช่นนี้เพราะคนไทย มีครีเอทีฟ และค่าแรงถูก ซึ่งเขายังไม่เห็นรายใด ที่จะพัฒนาไปสู่ตลาดในภูมิภาคเอเชียได้ แม้กระทั่งไอเอสพีก็ตาม ถ้าจะทำธุรกิจให้มีกำไร ก็ควรจะต้องรวมกันเหลือไม่กี่ราย

ถึงแม้ว่าโอกาสของธุรกิจมีมาก แนวโน้มไปได้ดี แต่ความเสี่ยงย่อมมีมากตามไปด้วย ที่สำคัญไม่มีใครรู้ว่า ใครจะเป็นอันดับ 1 ในตลาด ฉะนั้น การลงทุนของ venture capital จึงต้องลงทีเดียวหลายๆ บริษัท และครอบคลุมธุรกิจหลายด้าน

"เรายังไม่รู้ว่า เมืองไทยจะเป็น ศูนย์กลางที่ดีในด้าน distribution เป็น เรื่องของการซัปพอร์ตอินเทอร์เน็ต เวลานี้ยังไม่เคลียร์ ดังนั้น ทุกคนก็หวังว่า สำเร็จแค่ 10% ของธุรกิจ ที่ลงทุนไปก็พอ"

และนี่คือ ส่วนหนึ่งของเสียงสะท้อน ที่มาจากเอชแอนด์คิว เวนเจอร์ แคปปิตอลรายใหญ่ ที่จะเป็นประโยชน์ สำหรับบริษัทดอทคอมของไทย ที่กำลังหาเม็ดเงิน เพื่อใช้ในการสร้างสรรค์ธุรกิจกับโอกาส ที่กำลังมาถึง

ถึงใน ช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เอชแอนด์คิวจะเป็นตัวแทนนำหุ้นของบริษัทดอทคอม ที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหุ้นแนสแดคเป็นจำนวนมากก็ตาม แต่ สำหรับใน ไทย เอชแอนด์คิวยังต้องไม่มีการเคลื่อนไหวในเรื่องเหล่านี้อย่างเป็นรูปธรรม

อุปสรรคสำคัญของงานนี้ อยู่ ที่ demanD กับ supply ไม่สอดคล้องกัน เพราะในขณะที่ธุรกิจอินเทอร์เน็ต หรือ ซอฟต์แวร์ใ นไทย ล้วนแต่เป็นธุรกิจ ขนาดเล็ก ที่เริ่มต้นจากคนเพียงสองสามคนที่มากไปกว่านั้น ก็คือ กลุ่มเป้า หมาย เป็นตลาดในประเทศ แต่การลงทุนของเอชแอนด์คิว จะต้องอยู่ใน ระดับ 10 ล้าน เหรียญสหรัฐเป็นอย่างต่ำ

นั่นหมายถึงบริษัทนั้น จะต้องมีขนาดของธุรกิจ ที่ใหญ่พอควร ซึ่งต้องไม่ ใช่ตลาดในไทยเท่านั้น เพราะเป็นตลาดที่ยังจำกัดอยู่มาก จำนวนผู้ใช้อิน เทอร์เน็ต ที่มีอยู่ไม่ถึง 1 ล้านราย ซึ่งไม่เหมาะสมกับเม็ดเงินใน ระดับนี้

วีระพันธ์ พูลเกษ กรรมการผู้จัด การ เอชแอนด์คิว ประเทศไทย บอก ว่า ทางออกของเอชแอนด์คิว ก็คือ การจะตั้งเป็นส่วนงาน ที่เรียกว่า Internet in- cubator เพื่อเข้าไปลงทุนในธุรกิจอินเทอร์เน็ตอี กครั้งหนึ่ง ซึ่งจะ ประกอบไปด้วย ทีงานด้านจัดการที่มีความรู้ความ ชำนาญในเรื่องของการทำ ธุรกิจ รู้เรื่องเกี่ยวกับไฟแนนซ์ เข้าไปลงทุน และเข้าไป ช่วยเหลือในเรื่องความ รู้ทางด้านธุรกิจให้กับบริษัท ที่เข้ าไปลงทุน

"มันคล่องตัวกว่าเยอะ ถ้าจะให้เอาเอชแอนด์คิวไปลงมันก็ไม่สอดคล้อง กัน ขนาดกองทุนเราใหญ่ ก็จะลงไม่กี่บริษัท เพราะถ้าลงทุนเยอะไป จะเอา เวลา ที่ไหนไปดูผลที่ตามมา ซึ่งอาจจะเสียหายได้"

รูปแบบการลงทุนของ Internet incubator ของเอชแอนด์คิว ยังคงเป็น ลักษณะเดียวกับ venture capital ทั่วไป คือ จะปล่อยให้เจ้าของกิจการทำ ธุรกิจไป แต่จะมีทีมงานเข้าไปช่วยในบาง เรื่อง หากเจ้าของกิจการม ีไอเดีย ที่ ดี ก็อาจให้ดูแลด้านเทคนิคัลไป หากไม่ อยากบริหารองค์กร หน่วยงานจะ ช่วย หากรรมการผู้จัดการหาคนดูแลด้านไฟแนนซ์ให้

"นโยบายของเอชแอนด์คิว เราพยายามปรับให้เข้ากับตลาดแต่ละ ประเทศ และเกื อบทุกประเทศในอาเซียน เราก็พยายามทำเหมือนกัน เป็นไอเดีย เดียวกัน เพราะอย่างฟิลิปปินส์ และ มาเลเซีย เราก็เจอปัญหาแบบนี้เหมือน กัน และถ้ารวมกันในเรื่องของภาคพื้นได้ เราก็อยากจะทำ" วีระพันธ์เล่า

ถึง แม้จะหาทางออกให้กับธุรกิจได้แล้วก็ตาม แต่การแสวงหาโอกาสของ ธุรกิจในบริษัทดอทคอม ก็ยังอยู่ในช่วงของการมองหาลู่ทาง และคัดสรรธุรกิจ ที่จะเข้าไปลงทุนด้วย เพราะไม่ใช่ธุรกิจอินเทอร์เน็ตทั้งหมด ที่จะมีอนาคต สำหรับวีระ-พันธ์แล้ว ต้องไม่ใช่ธุรกิจอินเทอร์เน็ต ที่เป็นบิสซิเนสทู คอนซู เมอร์ หรือ บีทูซี ซึ่งเป็นการค้าขายระหว่าง ธุรกิจไปยังผู้บริโภคปลายทาง

"บริษัทอินเทอร์เน็ต ที่ทำธุรกิจบีทูซี ในสหรัฐอ เมริกา ก็มีแค่อเมซอน.คอม เท่านั้น ที่คนส่วนใหญ่นึกได้ ส่วนเบอร์2 เบอร์ 3 หรือเบอร์ 4 ไม่มีคนรู้จัก นั่นก็คือ การจะทำธุรกิจนี้ได้ต้องเป็นอันดับ 1 คือ ต้องใหญ่ไปเลย ถ้าไม่ ใหญ่จริงในที่สุด ก็อยู่ไม ่ได้" วีระพันธ์สะท้อนแนวคิด

และ ที่สำคัญคือ กลุ่มเป้าหมายของ ธุรกิจบีทูซี คือ ผู้บริโภคทั่วไป ซึ่ง การที่กลุ่มผู้บริโภคกว้าง ก็เป็นเรื่องยาก ที่จะทำธุรกิจให้ตอบสนองกับกลุ่มคน จำนวนมาก ได้ พูดง่ายๆ ความเสี่ยงของธุรกิจบีทูซีมีอยู่มาก เขาเชื่อว่าในที่ สุดจะเป็นตลาดของ ผู้ประกอบการจากต่างชาติ ที่เข้ามาเมืองไทย เพื่อทำ ธุรกิจนี้เอง โอกาส ที่บริษัทของ ไทยจะเติบโตในตลาดนี้จึงเป็นเรื่องยาก

เขามอง ว่า โอกาสของตลาดน่าจะอยู่ ที่ธุรกิจบิสซิเนส ทู บิสซิเนส หรือ b to b มีขนาดตลาดที่ใหญ่มาก และมีอนาคตที่ดีกว่า เพราะธุรกิจจะใช้ ประโยชน์จากการ นำอินเทอร์เน็ตมาช่วยลดต้นทุนในการทำธุรกิจเรื่องของ ซัป พลายเชนแมเนจเม้นท์

วีระพันธ์พบว่า ธุรกิจอินเทอร์เน็ต ของไทย ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของ ธุรกิจด้านข้อมูล หรือ content และการออกแบบเว็บไซต์ ที่เป็นเช่นนี้เพราะ คนไทย มีครีเอทีฟ และค่าแรงถูก ซึ่งเข ายังไม่เห็นรายใด ที่จะพัฒนาไปสู่ ตลาดในภูมิภาคเอเชียได้ แม้กระทั่งไอเอสพีก็ตาม ถ้าจะทำธุรกิจให้มีกำไร ก็ควร จะต้องรวมกันเหลือไม่กี่ราย

ถึงแม้ว่าโอกาสของธุรกิจมีมาก แนวโน้มไปได้ดี แต่ความเสี่ยงย่ อมมี มากตามไปด้วย ที่สำคัญไม่มีใครรู้ว่า ใครจะเป็นอันดับ 1 ในตลาด ฉะนั้น การลงทุนของ venture capital จึงต้องลงทีเดียวหลายๆ บริษัท และครอบ คลุมธุรกิจหลายด้าน

"เรายังไม่รู้ว่า เมืองไทยจะเป็น ศู นย์กลางที่ดีในด้าน distribution เป็น เรื่องของการซัปพอร์ตอินเทอร์เน็ต เวลานี้ยังไม่เคลียร์ ดังนั้น ทุกคนก็หวัง ว่า สำเร็จแค่ 10% ของธุรกิจ ที่ลงทุนไปก็พอ"

และนี่คือ ส่วนหนึ่งของเสียงสะท้อน ที่มาจ ากเอชแอนด์คิว เวนเจอร์ แคปปิตอลรายใหญ่ ที่จะเป็นประโยชน์ สำหรับบริษัทดอทคอมของไทย ที่ กำลัง หาเม็ดเงิน เพื่อใช้ในการสร้างสรรค์ธุรกิจกับโอกาส ที่กำลังมาถึง

   




 








upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us