Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
 


bulletToday's News
bullet Cover Story
bullet New & Trend

bullet Indochina Vision
bullet2 GMS in Law
bullet2 Mekhong Stream

bullet Special Report

bullet World Monitor
bullet2 on globalization

bullet Beyond Green
bullet2 Eco Life
bullet2 Think Urban
bullet2 Green Mirror
bullet2 Green Mind
bullet2 Green Side
bullet2 Green Enterprise

bullet Entrepreneurship
bullet2 SMEs
bullet2 An Oak by the window
bullet2 IT
bullet2 Marketing Click
bullet2 Money
bullet2 Entrepreneur
bullet2 C-through CG
bullet2 Environment
bullet2 Investment
bullet2 Marketing
bullet2 Corporate Innovation
bullet2 Strategising Development
bullet2 Trading Edge
bullet2 iTech 360°
bullet2 AEC Focus

bullet Manager Leisure
bullet2 Life
bullet2 Order by Jude

bullet The Last page


ตีพิมพ์ใน นิตยสารผู้จัดการ
ฉบับ มีนาคม 2545








 
นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2545
เทียบหลักการระหว่างทีดีอาร์ไอกับสถาบันทรัพย์สินทางปัญญา             
โดย ปัณฑพ ตั้งศรีวงศ์
 

   
related stories

ความเคลื่อนไหวการแปรสัญญาสัมปทานโทรคมนาคม
แปรสัญญาสัมปทานใครกันแน่ที่สูญเสียผลประโยชน์
ลำดับเหตุการณ์ แปรสัญญาโทรคมนาคม




ทีดีอาร์ไอ

1. ตลาดของบริการแต่ละประเภท จะต้องไม่มีการผูกขาดโดยผู้ประกอบการรายเดียว ที่มีอำนาจทางตลาดสูง

2. การแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการทุกรายในแต่ละตลาด จะต้องอยู่บนกฎเกณฑ์และหลักการที่มีความเสมอภาค

3. ผู้ประกอบการในแต่ละตลาด จะต้องไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ในรูปของการถือหุ้นในธุรกิจของกันและกัน

4.ในการแปรสัญญาใดๆ บริษัทเอกชนคู่สัญญา ไม่ควรได้รับผลประโยชน์มากหรือน้อยไปกว่าที่เคยได้รับ

5. ในการคำนวณการชดเชยที่จะมีขึ้น

5.1 รายได้ของภาคเอกชนถ้าเป็นลบ รัฐต้องชดเชยให้ แต่ถ้าเป็นบวก เอกชนต้องชดเชยให้รัฐ โดยคำนวณส่วนต่างไปจนสิ้นสุดสัญญา

5.2 รายได้ที่เปลี่ยนแปลงไปจากการยกเลิกการผูกขาด และการเปิดเสรี รัฐต้องชดเชยหรือได้รับชดเชย

5.3 ผลกระทบที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงในเชิงธุรกิจทั่วไป จะไม่นำมาคิดค่าชดเชย

6. การแปรสัญญาควรขึ้นอยู่กับความสมัครใจของคู่สัญญา

7. รัฐต้องประกันให้เอกชนคู่สัญญาได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบการรายใหม่

8. กรณีที่ไม่แปรสัญญา ทศท.และ กสท.ควรมีมาตรการที่เหมาะสม เพื่อลดข้อจำกัด และอุปสรรคการแข่งขัน

สถาบันทรัพย์สินทางปัญญา

1. ตลาดของบริการแต่ละประเภท จะต้องไม่มีการผูกขาดโดยผู้ประกอบการรายเดียว ที่มีอำนาจทางตลาดสูง

2. การแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการทุกรายในแต่ละตลาด จะต้องอยู่บนกฎเกณฑ์และหลักการที่มีความเสมอภาค

3. ผู้ประกอบการในแต่ละตลาด จะต้องไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ในรูปของการถือหุ้นในธุรกิจของกันและกัน

4. คู่สัญญาเอกชนมีภาระในการจ่ายค่าส่วนแบ่งรายได้ ไม่เกินปี 2549 เพื่อให้คู่สัญญาภาครัฐได้ปรับตัวเข้าสู่การแข่งขัน

5. กำหนดให้คู่สัญญาภาคเอกชนสามารถเช่า หรือซื้อคืนทรัพย์สินจากคู่สัญญาภาครัฐ

6. การแปรสัญญาควรขึ้นอยู่กับความสมัครใจของคู่สัญญา

7. ให้คู่สัญญาแก้ไข ยกเลิก หรือปรับปรุงเงื่อนไขในสัญญาระหว่างคู่สัญญา อันเป็นอุปสรรคในการให้บริการ

8. การแปรสัญญาไม่ควรนำไปสู่การสร้างภาวะผูกขาดทางตลาดของคู่สัญญาภาครัฐ หรือเอกชนมากขึ้น

   




 








upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us