Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



bulletToday's News
bullet Cover Story
bullet New & Trend

bullet Indochina Vision
bullet2 GMS in Law
bullet2 Mekhong Stream

bullet Special Report

bullet World Monitor
bullet2 on globalization

bullet Beyond Green
bullet2 Eco Life
bullet2 Think Urban
bullet2 Green Mirror
bullet2 Green Mind
bullet2 Green Side
bullet2 Green Enterprise

bullet Entrepreneurship
bullet2 SMEs
bullet2 An Oak by the window
bullet2 IT
bullet2 Marketing Click
bullet2 Money
bullet2 Entrepreneur
bullet2 C-through CG
bullet2 Environment
bullet2 Investment
bullet2 Marketing
bullet2 Corporate Innovation
bullet2 Strategising Development
bullet2 Trading Edge
bullet2 iTech 360°
bullet2 AEC Focus

bullet Manager Leisure
bullet2 Life
bullet2 Order by Jude

bullet The Last page








 

อาหาร GMO ปัญหาใกล้ตัวและใหญ่ระดับโลก เมือง Dendermonde ในเบลเยียม มีการเปิดพิจารณาคดีเกี่ยวกับพืชดัดแปลงตัดแต่งพันธุกรรม (genetically-modified organism (GMO) เมื่อเดือนพฤษภาคม มีนักเคลื่อนไหว 11 คนถูกฟ้องร้องในข้อหา ทำลายแปลงทดลองปลูกมันฝรั่ง GMO? คดีนี้ไม่เพียงเป็นที่สนใจในเบลเยียม แต่ยังเป็นที่สนใจไปทั่วโลก และเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลต่อภาคการเกษตรของไทยด้วย ทั้งที่เป็นคดีความที่เกิดขึ้นในประเทศที่ห่างไกลจากไทย เพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ มิถุนายน 2555
Los Angeles ระบบขนส่งมวลชนฉลาด เมืองกระชับ ผู้เขียนได้ไปเยือนหลายเมืองแถบชายฝั่งตะวันตกของสหรัฐฯ เมื่อเร็วๆ นี้ ทำให้นึกเปรียบเทียบปัญหาการพัฒนาเมืองของไทยที่มีผลกระทบจากการเติบโตของเมืองอย่างไร้การควบคุมและไร้ทิศทาง หรือ “การเติบโตของเมืองแบบกระจัดกระจายไร้ทิศทาง” (urban sprawl) ซึ่งหมายถึงการแผ่ขยายตัวจากใจกลางเมืองออกไปสู่เขตรอบนอกของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ พฤษภาคม 2555
ช่วยโลก ช่วยเรา คอลัมน์ของผมในเดือนนี้จะกล่าวถึง สิ่งที่อาจช่วยลดผลกระทบจากปัญหาภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง และจะชี้ให้เห็นว่าการ กระทำที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมโดยตรงยังสามารถสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้ด้วย มีนาคม 2555
โครงการหลวงกับการแก้ปัญหาขาดแคลนน้ำ บทความที่ผ่านมาในคอลัมน์นี้จะเน้นกล่าวถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนในเขตเมือง แต่สำหรับเดือนนี้ ผมต้องการขยายขอบเขต บทความของผมให้ครอบคลุมถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนในภาคเกษตรของไทยด้วย ตุลาคม 2554
พลังงานหมุนเวียนตัวช่วยเกษตรและชลประทาน เมื่อไม่นานมานี้ ผู้เขียนได้รับเชิญจากสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ให้ไปเยี่ยมชมโครงการชลประทานและโครงการเกษตรอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่จังหวัดเพชรบุรี โดยโครงการทั้งสองเป็นเพียงส่วนหนึ่งของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริจำนวนมากที่ริเริ่มโดยมูลนิธิหลายแห่งในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กันยายน 2554
ฟื้นคุณภาพน้ำ สร้างสุขสังคมเมือง ในบทนี้จะกล่าวถึงความสำคัญของแม่น้ำลำคลองในกรุงเทพฯ และบทเรียนที่ดีจากแนวทางการรักษาแม่น้ำลำคลองในเมืองต่างๆ ของบางประเทศในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สิงหาคม 2554
การวางผังเมืองกับปัญหาโลกร้อน เมืองที่ปลอดรถยนต์และสร้างเพื่อคนเดินเท้าจะทำให้เรามีสุขภาพที่ดีขึ้นและมีชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ชุมชนเมืองแห่งแรกเกิดขึ้นเมื่อ 6,000-7,000 ปีก่อน บนดินแดนที่เรียกว่า เมโสโปเตเมีย ซึ่งเป็นพื้นที่เกษตรกรรมอันอุดมสมบูรณ์ ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำ 2 สายของประเทศอิรักปัจจุบัน คือแม่น้ำยูเฟรติส และไทกริส กรกฎาคม 2554
‘เติบโตไร้ระเบียบ’ ภัยคุกคามอนาคตเมือง ‘มาเก๊า’ ในบทความเก่าๆ ผมเคยกล่าวถึงการคิดใหม่เกี่ยวกับอนาคตของเมืองในเอเชีย และครั้งนี้ก็เช่นกัน โดยประเด็นสำคัญยังคงอยู่ที่ว่า เมืองบางเมืองในเอเชีย ตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความเจริญก้าวหน้ามาก แต่ความก้าวหน้าเหล่านี้จะส่งผลต่ออนาคตของเมืองอื่นๆ ในเอเชียอย่างไร พฤษภาคม 2554
พลังงานลมกำลังเปลี่ยนแปลงตลาดพลังงานโลก ตอนก่อนๆ ของคอลัมน์นี้เคยกล่าวถึงอันตรายของพลังงานนิวเคลียร์ และเหตุการณ์วิกฤติแผ่นดินไหวในญี่ปุ่นที่เพิ่งเกิดขึ้น สิ่งที่ปรากฏให้เห็นเป็นเครื่องพิสูจน์ว่าอันตรายที่เคยกล่าวถึงนั้นเป็นความจริง เพราะแผ่นดินไหวรุนแรงขนาด 9.0 ริกเตอร์ ที่ญี่ปุ่นนั้น ดูเหมือนจะทำให้โลกเข้าใกล้อันตรายที่จะเกิดจากการหลอมละลายของนิวเคลียร์ แม้ว่าในกรณีของญี่ปุ่นยังเห็นไม่ชัดว่าจะส่งผลร้ายอย่างไร แต่ผลร้ายนั้นคงจะมีลักษณะคล้ายกับที่เคยเกิดขึ้นจากการระเบิดของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ schernobyl ในประเทศยูเครนเมื่อปี 1986 เมษายน 2554
ความร้อนใต้พิภพ: พลังงานทางเลือกแห่งอนาคต ในบทความครั้งก่อนกล่าวถึงเหตุผลที่พลังงานนิวเคลียร์อาจไม่ใช่คำตอบของปัญหาพลังงานของไทย เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายที่ซ่อนเร้นมหาศาล และมีความเสี่ยงด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ถ้าเช่นนั้นไทยควรใช้พลังงานทางเลือกใด หากไม่ใช่พลังงานนิวเคลียร์ มีนาคม 2554

1 | 2


upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us