ศิลปะร่วมสมัยยังไม่ตาย
ตลาดที่ซบเซากลับเป็นโอกาสให้นักสะสมสามารถหาซื้อผลงานศิลปะชั้นเยี่ยมได้ในราคาที่ไม่แพง สภาพเศรษฐกิจแบบนี้ทำให้ทุกคนรู้สึกจนลง ไม่เว้นนักสะสมงานศิลป์ราคาแพง ที่อาจจะเริ่มคิดๆ ว่า ควรจะเอาเงินที่ใช้ซื้อสะสมงานศิลป์ ไปซื้อบ้านดีๆ แถบชานเมืองในสหรัฐฯ ที่ถูกยึดจะคุ้มกว่าหรือไม่
สิงหาคม 2552
ดีไซเนอร์รุ่นเยาว์หาญสู้รุ่นใหญ่
ห้องเสื้อหรูรายเล็กอาศัยฝีมือแหวกสภาวะเศรษฐกิจท้าชนรุ่นพี่อย่าง Chanel และ Dior บรรยากาศห้องเสื้อของดีไซเนอร์รุ่นใหม่อย่าง Dominique Sirop อาจไม่เริ่ดหรูอลังการเหมือนกับห้องเสื้อของดีไซเนอร์รุ่นใหญ่อย่าง Dior, Gaultier หรือ Valentino แต่ถ้าพูดถึงเกียรติยศและความสำเร็จ เขาก็ไม่เป็นสองรองใคร
สิงหาคม 2552
คืนสู่ความหรูที่แท้จริง
ในเวลาที่เศรษฐกิจกำลังตกต่ำ ดูเหมือนว่าเราไม่ควรคิดที่จะซื้อสินค้าหรูหราฟุ่มเฟือยอีกต่อไป แต่ความจริงแล้ว ในยามที่จิตตกสุดๆ อย่างนี้ อาจเป็นเวลาที่เรากำลังต้องการเครื่องปลอบประโลมใจมากที่สุดด้วยความช่วยเหลือเล็กๆ น้อยๆ จากสิ่งดีๆ ที่ชีวิตมอบให้เรา
สิงหาคม 2552
ทำตัวหรูสู้วิกฤติเศรษฐกิจ
ความหรูใช่หมายถึงต้องมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากๆ แต่ขึ้นอยู่กับคุณภาพของสิ่งที่เราได้เป็นเจ้าของและเราให้ค่ามันสูงเพียงใด
สิงหาคม 2552
ฝันสลายของร้านเพชรหรู
Merrill Lynch ปล่อยกู้ให้ร้านเพชรชื่อดัง ซึ่งหวังจะดันตัวเองขึ้นเป็นร้านเพชรหรูระดับโลก แต่กลับต้องมาลงเอยด้วยการฟ้องร้องที่น่าปวดหัว
สิงหาคม 2552
เมนูเศรษฐกิจตกต่ำ
ภัตตาคารหรูพากันคิด "เมนูเศรษฐกิจตกต่ำ" ดึงลูกค้าเข้าร้านอีกครั้ง ไม่จำเป็นว่าร้านอาหารหรูทุกแห่งจะต้องลดความหรูเพื่อต้านพิษเศรษฐกิจเสมอไป ภัตตาคารหรูๆ บางแห่งเพียงแค่เสิร์ฟเมนูหรูในปริมาณที่น้อยลง หลังเจอพิษเศรษฐกิจจนธุรกิจตกต่ำลง 20-50%
กรกฎาคม 2552
ภัตตาคารหรูเลือกเก็บผ้าปูโต๊ะแทนม้วนเสื่อ
เมื่อสุดยอดเชฟเปลี่ยนมาเสิร์ฟอาหารง่ายๆ และราคาถูกในบรรยากาศเรียบง่ายไม่มีบวกเพิ่ม Albion เพิ่งเปิดตัวเมื่อเดือนมกราคม ด้วยเมนูและบรรยากาศที่เรียบง่าย พนักงานเสิร์ฟแต่งตัวธรรมดา ไม่มีระบบรับจอง และไม่มีบริการที่มากเกินจำเป็น แต่อาหารอยู่ในระดับสุดยอด
กรกฎาคม 2552
แผนการใหญ่ของเชฟ 3 ดาว
เชฟ 3 ดาวมิชลิน Jean-Georges Vongerichten วางแผนจะเปิดภัตตาคารใหม่ 50 แห่งทั่วโลก สวนกระแสเศรษฐกิจตกต่ำ
กรกฎาคม 2552