Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



bulletToday's News
bullet Cover Story
bullet New & Trend

bullet Indochina Vision
bullet2 GMS in Law
bullet2 Mekhong Stream

bullet Special Report

bullet World Monitor
bullet2 on globalization

bullet Beyond Green
bullet2 Eco Life
bullet2 Think Urban
bullet2 Green Mirror
bullet2 Green Mind
bullet2 Green Side
bullet2 Green Enterprise

bullet Entrepreneurship
bullet2 SMEs
bullet2 An Oak by the window
bullet2 IT
bullet2 Marketing Click
bullet2 Money
bullet2 Entrepreneur
bullet2 C-through CG
bullet2 Environment
bullet2 Investment
bullet2 Marketing
bullet2 Corporate Innovation
bullet2 Strategising Development
bullet2 Trading Edge
bullet2 iTech 360°
bullet2 AEC Focus

bullet Manager Leisure
bullet2 Life
bullet2 Order by Jude

bullet The Last page








 
 

แพรวา-คลาสสิคลานนา เดินคนละทางเป้าหมายเดียวกัน เป้าหมายของ สุเมธ พันธุ์แก้ว ก็คือ เป็นดีไซเนอร์มือหนึ่งในภาคเหนือ งานของเขาคือ ชุดแต่งกายในธีมพื้นเมืองล้านนา ทั้งแบบดัดแปลงสมัยใหม่และมีกลิ่นอายแบบภาคเหนือแท้ "เมื่อนึกถึงผ้าหรือสไตล์พื้นเมือง ไม่ว่าไทย-เทศจะต้องนึกถึงเรา นี่เป็นความฝันของผม งานออกแบบของเขา ส่งออกทั้งชุดไปที่ญี่ปุ่นและอิตาลี ในราคาที่คนไทยหลายคนอาจจะหยิบไม่ลงได้หลายปีแล้ว ในชื่อ "คลาสสิค โมเดล" และ "คลาสสิค ลานนา" แต่เขาคิดว่ากิจการของเขายังไปได้ไกลกว่านั้น ส่วน ประพันธ์ มูลน้อย อาจมีเป้าหมายที่แตกต่างไปบ้าง เวลานี้บริษัท แพรวาไหมไทยของเขา มียอดส่งออกเสื้อผ้าฝ้าย เฉพาะในญี่ปุ่นปีละไม่ต่ำกว่า 30 ล้านบาท มีร้านที่จำหน่ายสินค้าของเขาทั่วญี่ปุ่นเกือบ 50 แห่ง แถมเป็นเจ้าของกำลังการผลิตผ้าฝ้ายทอมือใน เชียงใหม่ไม่น้อยกว่า 70% ขณะนี้กำลังพยายามยกระดับตัวเองสู่การดีไซน์แบบเสื้อผ้าใหม่ ในลักษณะของคอลเลกชั่น ในนามของ "คอตตอนฮัท" และ "แพรวา โดยมีดีไซเนอร์ทั้งญี่ปุ่นและไทยเป็นทีมงานอยู่เบื้องหลัง ทั้งสองคนไม่มีฐานธุรกิจนี้อยู่เดิม โดยเพิ่งจะเข้าสู่เส้นทางนี้อย่างจริงจังไม่เกิน 10 ปีที่ผ่านมานี้เอง การตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อส่งออกต่างประเทศเป็นหลัก มีองค์ประกอบของธุรกิจเฉพาะตัว แต่เขาทั้งคู่ได้ค้นพบความลับอันนั้นแล้ว ตุลาคม 2542
ส้มสายน้ำผึ้งธนาธร โตสวนวิกฤต ในช่วง 2 ปีของวิกฤตเศรษฐกิจไทย กิจการไร่ส้มของบัณฑูร จิระวัฒนากูล ที่อ.ฝาง เชียงใหม่ กลับไม่รู้สึกรู้สากับอาการไข้ดังกล่าว ตุลาคม 2542
"Propaganda" จากกราฟิกดีไซน์สู่โปรดักส์ดีไซน์ หลังจากประสบความสำเร็จอย่างมากในการผลิตและจำหน่ายสินค้าตกแต่งภายใต้แบรนด์ "Propaganda" เพราะมียอด จำหน่ายต่างประเทศถึง 80% ของสินค้าที่ผลิตทั้งหมด มาบัดนี้ Propaganda เริ่มเผชิญอุปสรรคหลายด้าน โดยเฉพาะใน ตลาดต่างประเทศที่วิธีขายขาดทำให้การจัดวางสินค้าในตลาดเจอคู่แข่งสูงมาก เมตตา สุดสวาท ตัดสินใจปิดฉาก งานกราฟิกดีไซน์ของ Propaganda ที่ใช้ เป็นกลยุทธ์เปิดตลาดในตอนเริ่มต้นหันมามุ่งสร้างงานโปรดักส์ดีไซน์ เพื่อหนี ไกลคู่แข่งทั้งหลาย แถมด้วยการก้าวสู่ปารีส-ศูนย์กลางการชอปปิ้ง เพื่อเปิดชอป "เมดอินไทยแลนด์" ใช้เป็นหัวหอกบุกเบิก ตลาดต่างประเทศ เถลิงศก ค.ศ. 2000 กันยายน 2542
ตำนาน "เท็ดดี้แบร์" ในเมืองไทย จาก "รับจ้างผลิต" สู่ "แบรนด์ของตัวเอง" หนทางการทำธุรกิจขนาดเล็กไม่ใช่เรื่องที่ราบรื่นเสมอไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ เพียงแต่ว่าผู้ประกอบการ รายใดจะสามารถพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาสได้ ปิตุพร หิรัญยพิชญ์ เป็นหนึ่งตัวอย่างของผู้ส่งออกไทยที่มีการปรับตัวอย่าง น่าสนใจ ก้าวจาก "รับจ้างผลิต" สู่ "แบรนด์ของตัวเอง" กันยายน 2542

1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9


upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us