ธนาคารฟันน้ำนม ธุรกิจแห่งอนาคต
"ถ้าฟันน้ำนมหลุดให้ขว้างขึ้นไปบนหลังคา เพื่อจะได้ให้ฟันใหม่งอกออกมาแทน" หลายคนคงเคยได้ยินเรื่องราวเกี่ยวกับฟันน้ำนมที่ผู้ใหญ่บอกกล่าวเมื่อครั้งวัยเด็ก เด็กๆ หลายคนเชื่อว่าเป็นเรื่องจริงแล้วก็ทำตาม แต่บางคนก็คิดว่าเป็นเรื่องเหลวไหล
เมษายน 2552
บริหารงานแบบพุทธบนธุรกิจเอสเอ็มอี
วัชรมงคล เบญจธนะฉัตร์ วัย 39 ปี ประธานกรรมการ บริษัท บาธรูม ดีไซน์ จำกัด เป็นนักบริหารหนุ่มที่นำหลักการบริหารแบบพุทธมาปรับใช้กับงานบริหารในยุคปัจจุบันได้อย่างลงตัว
กุมภาพันธ์ 2552
จินตนาการนอกกรอบ สร้างธุรกิจในห้องน้ำ
จากการเริ่มต้นธุรกิจเล็กๆ ที่ใช้เงินลงทุนเพียง 250,000 บาท ผลิตสินค้าสุขภัณฑ์ภายในห้องน้ำภายใต้แบรนด์ไทยบาธรูม ดีไซน์ ไอ-สปา ที่ไปคว้ารางวัลเรดดอทและไอเอฟจากประเทศเยอรมนี เป็นรางวัลที่นักออกแบบทั่วโลกต่างใฝ่ฝันอยากครอบครอง
กุมภาพันธ์ 2552
บริหารยามวิกฤติ บทพิสูจน์ "เนอร์วาน่า ฟูดส์"
เนอร์วาน่า ฟูดส์ เอสเอ็มอี ที่มีประสบการณ์ผลิตและจำหน่ายสินค้าชา กาแฟพร้อมดื่มมากว่า 18 ปีในต่างประเทศ ตัดสินใจหันกลับมาตั้งโรงงานในเมืองไทยเริ่มทำตลาดในต้นปี 2552 ที่ใครๆ ก็บอกว่าเป็นปีที่ยากและลำบาก
มกราคม 2552
สืบทอดตำนานธุรกิจยายึดหลักบริหารพอเพียง
ในขณะที่เรากำลังกินยาแก้ท้องเสีย หรือยาแก้ไข้ แทบจะไม่ได้สนใจว่ายาที่ใช้มีแหล่งผลิตมาจากไหน เป็นของใคร ทว่าโลโกอักษรภาษาอังกฤษสีแดง 3 ตัว SMC พื้นด้านหลังสีเขียวที่ติดอยู่บนกล่องยา มีเจ้าของเป็นบริษัทคนไทยที่มีตำนานผลิตยามานานกว่า 62 ปี
ธันวาคม 2551
ยุทธศาสตร์บนเครือข่ายใหม่ที่ดูไบ
ดูไบ เมืองแห่งอนาคตที่กำลังเปิดประตูให้นักลงทุนจากทุกมุมโลกเข้าไปแสวงหาโอกาสใหม่ๆ แต่ขึ้นอยู่กับว่านักลงทุนเริ่มต้นที่จะศึกษาดูไบอย่างจริงจังหรือยัง?
พฤศจิกายน 2551
The Corporation of Design "อิสรภาพ" ทางปัญญาของธุรกิจไทย
วาระครบรอบ 70 ปีของคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทางคณะฯ นำทีมวิชาการทุกภาควิชา ใช้เวลาถึง 1 ปี ทำการวิจัยเชิงกรณีศึกษากลุ่มบริษัทในการสร้างเคล็ดวิชาสู่ความก้าวหน้าแห่งทศวรรษใหม่ของธุรกิจไทย เพื่อก้าวเข้าถึงแก่นแท้จิตวิญญาณของสถาบันที่ว่า "ธรรมศาสตร์รับใช้ประชาชน"
ตุลาคม 2551
บทเรียน SMEs ที่ผูกอนาคตไว้กับอุตสาหกรรมใหญ่
แนวคิดหนึ่งในการยกระดับ SMEs เมืองไทยคือการนำอนาคตไปผูกไว้กับอุตสาหกรรมใหญ่ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ถูกวางนโยบายให้เป็นยุทธศาสตร์ชาติ แต่การจะประสบความสำเร็จได้นั้นต้องเจาะเข้าไปให้ถูกจุด
กันยายน 2551
ณรงค์ VS โสภณ บริหารอย่างลงตัว
ณรงค์ อิงค์ธเนศ พบโสภณ บุญยรัตพันธุ์ โดยบังเอิญในแวดวงธุรกิจ เขาทั้งสองมีประสบการณ์ที่แตกต่าง ณรงค์เชี่ยวชาญด้านการบริหารงานกว่า 20 ปี ส่วนโสภณถนัดงานการเงินมาตลอดช่วงชีวิตการทำงานของเขา เมื่อทั้งสองมาร่วมงานกัน ก็เหมือนมาเจอกัน ถูกที่ ถูกเวลา
กันยายน 2551
เคล็ดลับเปิดทางกองทุนร่วมทุนในเอสเอ็มอี
สัญญาณหลักที่ธุรกิจเอสเอ็มอีพึงระวังหากต้องการให้กองทุนร่วมทุน หรือเวนเจอร์ แคปปิตอล สนใจร่วมทุนคือ ไม่มี 2 บัญชีในบริษัทเดียวกัน นโยบายต้องไม่เปลี่ยนไปมา คู่แข่งไม่มาก และผู้บริหารไม่ถือหุ้นหลากหลาย หากผิดเงื่อนไข โอกาสเลือกลงทุนในเอสเอ็มอี แทบเหลือศูนย์เปอร์เซ็นต์
กันยายน 2551