ความใกล้ชิดของลาว-เวียดนาม ที่มิอาจมองข้าม
แม้ลาวและเวียดนามมีความสัมพันธ์ฉันประเทศเพื่อนมิตรมาช้านาน แต่เมื่อเศรษฐกิจของลาวทะยานขึ้น ความสัมพันธ์ของทั้งคู่ก็ยิ่งถูกเร่งให้มีความเข้มข้นขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
มีนาคม 2555
เส้นทาง 18B ประตูเปิดเวียดนามสู่ลาวใต้
5 ปีหลังเปิดใช้เส้นทางสาย 18B ภาพการพัฒนาของแขวงต่างๆ ในเขตลาวใต้ได้ปรากฏภาพออกมาให้เห็นชัด โดยเฉพาะกระแสการลงทุนจากเวียดนามที่หลั่งไหลเข้าไปในพื้นที่ซึ่งเคยกันดารแห่งนี้
กุมภาพันธ์ 2555
การโตแบบธรรมชาติของตลาดหลักทรัพย์ลาว
แม้เพิ่งเปิดการซื้อขายมาได้เพียง 1 ปี มีบริษัทจดทะเบียนอยู่เพียง 2 แห่ง แต่ก็ปรากฏเหตุการณ์ที่น่าตื่นเต้นขึ้นกับตลาดหลักทรัพย์ลาวจนได้
กุมภาพันธ์ 2555
บทบาทที่ต้องติดตามของเวียดนาม
เวียดนามกำลังเดินบทบาทเชิงลึก ท่ามกลางความตื่นตัวในการรวมกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนที่กำลังจะมาถึงในอีก 3 ปีข้างหน้า บทบาทนี้น่าติดตามยิ่ง
มกราคม 2555
การเดินบทบาทที่มีนัยสำคัญของพม่า
ภายหลังผ่านการเลือกตั้งใหญ่ และได้รัฐบาลที่มีภาพเป็นประชาธิปไตย พม่าเริ่มเดินบทบาทในการสร้างความสัมพันธ์กับประเทศในกลุ่มอาเซียน โดยเฉพาะกับเวียดนาม ซึ่งมีนัยสำคัญต่อบทบาทในการคานกับมหาอำนาจในภูมิภาคนี้อย่าง “จีน”
ธันวาคม 2554
จังหวัดสหรัฐไทยเดิม อดีต “เมืองลูกหลวง” แห่งล้านนา
โดยสารานุกรมออนไลน์ “วิกิพีเดีย” บอกไว้ว่า เมืองเชียงตุง เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน เขตรัฐฉาน ประเทศพม่า เป็นเมืองของชาวไทเขินและชาวไทใหญ่ ถือได้ว่าเป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองเทียบเท่าเมืองเชียงใหม่ แห่งล้านนาไทย และเมืองเชียงรุ่งแห่งสิบสองปันนา โดยชาวไทใหญ่เรียกชื่อเมืองนี้ว่า “เก็งตุ๋ง” หรือ Keng tung (แต่คนในท้องถิ่นออกสำเนียงเจ็งตุ๋ง-ผู้เขียน)
ธันวาคม 2554
“เชียงตุง” บนรอยต่อกาลเวลา
นักเดินทางที่เคยไปเยือน “เชียงตุง” หรือ “เจ็งตุ๋ง” อาจตรึงตรากับภาพชุมชนชนบทเหมือนเชียงใหม่ 50 ปีก่อน บางคนอาจคิดถึงอดีตเมืองลูกหลวงล้านนาไทยอีกครั้ง เมื่อได้ดูละครฮิต “รอยไหม” ผ่านจอทีวี ด้วยเป็นบ้านเกิด “เจ้านางน้อย-มณีริน” วันนี้...เชียงตุงกำลังรอวันฉายแสงอีกครั้ง
ธันวาคม 2554
มุมมองเปรียบเทียบสินค้าไทย-เวียดนาม
กรณีพิพาทพรมแดนระหว่างไทย-กัมพูชา ได้เพิ่มช่องทางตลาดให้สินค้าจากเวียดนามเป็นอย่างมาก แต่ในทัศนะของผู้บริโภคแล้ว สินค้าจากไทยยังได้รับความนิยมอยู่ในภูมิภาคนี้มากกว่า
พฤศจิกายน 2554
เขตเศรษฐกิจเฉพาะ “นาคราชนคร” โอกาสที่มาหลังวิกฤติ
“นาคราชนคร” โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งอยู่ในทำเลที่เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญของ GMS ได้เดินทางมาถึงจุดเปลี่ยนที่สำคัญอีกครั้ง และเป็นจุดเปลี่ยนซึ่งทำให้โครงการนี้มีความโดดเด่นขึ้น หลังจากต้องเงียบเหงามาเกือบ 2 ปี
พฤศจิกายน 2554
แผนยกระดับเกาะฟุก๊วก
นอกจากการยกระดับเศรษฐกิจด้วยการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม พลังงาน และภาคการเกษตรแล้ว ภาคการท่องเที่ยวก็กำลังจะเป็นเครื่องจักรในการทำรายได้เข้าประเทศที่สำคัญของเวียดนามอีกแขนงหนึ่ง
ตุลาคม 2554