ชนกลุ่มน้อยกับโจทย์ CSR
“ซีเอสอาร์แบบไทยๆ เน้นบริจาคแต่ไม่มีระบบคิดที่เป็นกิจกรรม” จุดอ่อนของการดำเนินงานซีเอสอาร์ที่รัชฎาวรรณ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้จัดการสำนักประชาสัมพันธุ์ Intouch มองเห็นตลอดช่วงที่ทำงานกับอินทัชมานานกว่า 17 ปี ขณะเดียวกันก็ยอมรับว่าซีเอสอาร์ของบริษัท หรืออดีตชินคอร์ปอเรชั่น ซึ่งเธอมีหน้าที่ดูแลอยู่ด้วยนั้นก็เคยทำตามเทรนด์ซีเอสอาร์แบบไทยๆ มาก่อนเช่นกัน
พฤศจิกายน 2554
กรีนเชิงสัญลักษณ์จาก ปตท.
“โลกมันชัดเจนว่าก้าวสู่เรื่องกรีนโปรดักส์ทั้งนั้น เป้าหมายของ ปตท.จึงอยากมีผลิตภัณฑ์ที่เป็นกรีน เราเริ่มจากไบโอพลาสติกหรือพลาสติกที่ย่อยสลายได้ในธรรมชาติ ที่สำคัญเราต้องพัฒนาธุรกิจให้เอาไปใช้ได้จริงด้วยการหาการใช้ประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ให้เจอ”
ตุลาคม 2554
คนไทยตั้งรับอย่างไรเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยน
การประชุมวิชาการระดับชาติประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 2 วันที่ 18-19 สิงหาคม 2554 ที่เมืองทองธานี ภายใต้หัวเรื่อง “การเปลี่ยนกระบวนทัศน์สู่เศรษฐกิจสีเขียว ขององค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก (อบก.)” นอกจากแสดงถึงความพยายามในการหาแนวทางลดโลกร้อนและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก หัวข้อสัมมนาย่อยในงานที่น่าสนใจบางหัวข้อ ยังสะท้อนให้เห็นการวางแผนจัดการของประเทศไทย ที่เริ่มวางแผนงานอย่างเป็นระบบและมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลกว่าเดิมเกิดขึ้นด้วย แม้ว่าแผนงานที่ว่านั้นอาจจะยังไม่มีความชัดเจนเต็มร้อยก็ตามที
กันยายน 2554
กระบวนการสีขาว ความหมายที่ต้องเริ่มจากภายใน
“เป็นหน้าที่ที่เราจะต้องสร้างประโยชน์ให้กับสังคม ชุมชน หรือประเทศที่เราเข้ามาดำเนินธุรกิจ” คำตอบของวาตารุ นิชิโอกะ ประธานบริษัทและประธานกรรมการบริหาร บริษัท แคนนอน มาร์เก็ตติ้ง (ไทยแลนด์) จำกัด ที่มีให้กับนักศึกษาฝึกงานชาวญี่ปุ่นที่ร่วมเดินทางไปไกลถึงโรงเรียนบ้านสองคอน จังหวัดอุบลราชธานี ในโครงการพลังงานสีขาว เพื่อโลกสีเขียว ของแคนนอน
สิงหาคม 2554
พลังงานแสงอาทิตย์กู้โลก
ผลกระทบจากสถานการณ์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ฟุกุชิมะ ประเทศญี่ปุ่น นอกจากเพิ่มความตระหนกตกใจและเพิ่มกำแพงการต่อต้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มากขึ้น ยังส่งผลโดยตรงต่อแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย
กรกฎาคม 2554
เปลี่ยน “มะเร็งปอด” เป็น “เครื่องฟอกอากาศยักษ์”
“ไม่เห็นมีน้ำเลย” เสียงเปรยที่ได้ยินไปทั่วเมื่อมือสร้างฝายสมัครเล่นจากทั่วจังหวัดระยองร่วม 2 พันคนไต่ขึ้นเขาไปยังจุดสร้างฝายบนเขายายดา ที่บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส์ จำกัด เตรียมไว้ในงาน “สร้างฝายกับ SCG คืนชีวีให้เขายายดา” เมื่อปลายเดือนพฤษภาคม 2554 ที่ผ่านมา ขณะที่เสียงตอบกลับของชาวบ้านในพื้นที่ที่เข้ามาร่วมเป็นแรงงานหลักในการสร้างฝายอธิบายกลับไปว่า “นี่ดีกว่าสองปีที่แล้วเยอะแล้วครับ”
มิถุนายน 2554
120 ปี เต็กเฮงหยู คืนสู่ยุค Social Enterprise
Social Enterprise คือรูปแบบธุรกิจที่ดำเนินการโดยมี “การให้” เป็นหัวใจ ให้เพื่อไปสู่เป้าหมายของการทำให้ “สังคมดีขึ้น” ในด้านใดด้านหนึ่งอย่าง “จริงใจ” กำไรที่แท้จริงจึงควรเกิดแก่สังคมก่อนองค์กร
พฤษภาคม 2554
คุณภาพชีวิตชุมชน ตัววัดอุตสาหกรรมสีเขียว
ความสำเร็จที่จะเป็นตัวชี้วัดว่าอุตสาหกรรมแต่ละแห่งมีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากน้อยแค่ไหน ดูเหมือนจะไปลงตัวที่คุณภาพชีวิตชุมชนในพื้นที่ข้างเคียง ซึ่งหลายบริษัทใช้เป็นกิจกรรมในการสร้างภาพของการเป็นบริษัทที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กันอย่างพร้อมเพรียง ผ่านกิจกรรมซีเอสอาร์และกิจกรรมต่างๆ ที่แสดงให้เห็นถึงการอยู่ร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรมและชุมชนได้อย่างราบรื่น
เมษายน 2554
ท้าตลาดด้วยนวัตกรรม
ยังไม่ทันจบส่วนของการสื่อสารเพื่อสร้างแบรนด์เอสซีจีให้เป็นองค์กรธุรกิจที่เติบโตอย่างยั่งยืนในอาเซียนได้แล้วเสร็จ เอสซีจีก็สร้างเรื่องท้าทายการสื่อสารบทใหม่ให้กับตัวเองในเวียดนาม ด้วยการสร้างโชว์รูมวัสดุก่อสร้าง ซึ่งถือเป็นการสร้างนวัตกรรมการค้าวัสดุก่อสร้างแบบใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนในเวียดนาม
เมษายน 2554
ฟรีไดวิ่ง: แค่คนกับทะเล
ปกตินักดำน้ำ นอกจากจะต้องเปลืองน้ำมันล่องเรือไปยังจุดดำน้ำ ก่อนลงสู่ใต้ผืนน้ำก็ต้องพ่วงเอาอุปกรณ์ต่างๆ เป็นเครื่องช่วยลงไปใต้ทะเลด้วย ดูแล้วมีพันธนาการมากกว่าจะได้ลงเป็นอิสระใต้ทะเล สิ่งแปลกปลอมเหล่านี้ย่อมก่อผลกระทบต่อธรรมชาติไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง
มีนาคม 2554