แค่ “ทราย” กับ “ทะเล” ไม่โรแมนติก ยังชีพไม่ได้
“ทรายกับทะเล” เป็นคำพูดที่ชวนให้นึกถึงภาพบรรยากาศสวยงามโรแมนติก แต่สำหรับคนชุมชนบ้านกลาง ตำบลบางเตย อำเภอเมือง จังหวัดพังงา คือภาพแห่งความทรงจำอันเจ็บปวด เป็นภาพที่คนในชุมชนต้องใช้เวลาเกือบ 20 ปี ลบภาพนั้นทิ้งไป พวกเขาตั้งใจจะไม่ปล่อยให้ภาพนั้นกลับมาเกิดขึ้นอีก
มิถุนายน 2555
“ฝาย” ที่โตเป็น “โรงไฟฟ้า”
พูดกันจังว่าฝายมีชีวิต วลีนี้เป็นแค่คำเก๋ๆ ที่ดึงความสนใจหรือเป็นเรื่องจริง วันนี้มีบทพิสูจน์จากฝาย สิ่งซึ่งไม่ถาวร สร้างจากไม้ไผ่ ก้อนหิน และกองดิน เจอฝน เจอน้ำไหลผ่านก็ผุพังไปตามเวลา แต่การผุพังของฝาย ให้ความชุ่มชื้น ให้กำเนิดป่ารุ่นใหม่ และรวมหยดน้ำเป็นสายไหลไปให้ประโยชน์กับแปลงไร่นาของชาวบ้าน
พฤษภาคม 2555
ดอยตุงโมเดล ต้นไม้ให้ป่า ผลผลิตให้ชุมชน
“สมัยก่อนเวลาถามว่าดอยตุงอยู่ตรงไหน เขาก็บอกนั่นแหละที่ดอยดินแดง เพราะภูเขามันโล้นไม่มีป่า เห็นแต่ดินสีแดง” อมรรัตน์ บังคมเนตร เจ้าหน้าที่ศูนย์พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ทำงานที่ดอยตุง 17 ปี เป็นหนึ่งในทีมงานที่ซึมซับดอยตุงโมเดลและสามารถถ่ายทอดเรื่องเล่าความเป็นมาของดอยตุงได้เหมือนเจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่ที่นี่
กุมภาพันธ์ 2555
ปัดฝุ่นเศรษฐนิเวศเพื่อสุโขทัยยั่งยืน
...เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว เจ้าเมืองบ่เอาจกอบในไพร่ ...เพื่อนจูงวัวไปค้าขี่ม้าไปขาย ใครจักใคร่ค้าช้าง ค้า ใครจักใคร่ค้าม้า ค้า ใครจักใคร่ค้าเงือน ค้าทอง ค้า...
มกราคม 2555
รับมือน้ำท่วม กรณีศึกษาจากหาดใหญ่
เดือนพฤศจิกายน เป็นช่วงเวลาที่ชาวหาดใหญ่จะตื่นตัวเป็นพิเศษ เพราะเป็นเดือนครบรอบน้ำท่วมใหญ่ถึง 2 ครั้ง สร้างความเสียหายทิ้งไว้รอบละไม่ต่ำกว่า 1-2 หมื่นล้านบาท ทั้งต่อระบบการค้าและทรัพย์สิน ครั้งแรกเมื่อปี 2543 และอีกครั้ง เมื่อปี 2553 เหตุการณ์เช่นนี้ไม่ว่าจะเป็นการฉลองครบรอบ 10 ปี หรือครบรอบปี ชาวหาดใหญ่ล้วนไม่อยากให้เกิดขึ้นจึงต้องตื่นตัวและเตรียมพร้อมอย่างไม่ประมาท
พฤศจิกายน 2554
ประเทศไทยกำลังจะขาดแคลนเกษตรกร!
ประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นเมืองเกษตรขนานแท้มาเนิ่นนาน แต่แล้วอยู่ๆ เมื่อพิจารณาดูตัวเลขประชากรเกษตรของประเทศอย่างจริงจัง กลับกลายเป็นว่า อีกเพียงทศวรรษเดียวตัวเลขเกษตรกรที่เหลืออยู่ของไทยจะมีอัตราส่วนเท่ากับประชากรผู้สูงอายุของประเทศเลยทีเดียว ความต่างของตัวเลขเดียวกันอยู่ที่ สำหรับผู้สูงอายุถือว่ามาก แต่สำหรับจำนวนเกษตรกรถือว่า เข้าสู่ภาวะขาดแคลน
ตุลาคม 2554
ดอนหอยหลอด การถนอมอาหารในถิ่นอุตสาหกรรม
หอยหลอด หอยทะเลรูปทรงคล้ายหลอดกาแฟ ไม่ว่าจะอยู่จานผัดฉ่าหรือฝังตัวอยู่ในธรรมชาติ ก็ทำให้ใครหลายคนนึกถึงดอนหอยหลอด สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยม ทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดสมุทรสงครามขึ้นมาทันที
กันยายน 2554
วิถีของคนภูเขากับการพัฒนาเมือง
จากเช้าวันแรกที่เดินทางมาถึงซาปา (Sapa) จนถึงตอนเย็นของวันที่ 3 ชั่วระยะเวลาไม่เต็ม 72 ชั่วโมงที่ผ่านไป ถ้ามองมุมกว้าง เมืองนี้เหมือนไม่มีอะไรเปลี่ยนไป เว้นแต่มีนักท่องเที่ยวหน้าใหม่ที่หมุนเวียนเข้ามาทุกวัน แต่เมื่อมองลงไปในรายละเอียด ริมถนนเส้นเดิมๆ ของเมืองเล็กๆ แห่งนี้เปลี่ยนแปลงทุกวัน
กันยายน 2554
งาน “สืบ” ตำนาน “คนรักษ์ป่า”
เดือนกันยายนของทุกปี เป็นช่วงครบรอบการจากไปของสืบ นาคะเสถียร มูลนิธิสืบนาคะเสถียร ผู้สืบสานตำนานคนรักษ์ผืนป่า จัดงานครบรอบกระตุ้นเตือนผู้คนให้เกิดกระแสการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติไหลเวียนในความรู้สึกอย่างต่อเนื่องมาปีนี้เป็นปีที่ 21
สิงหาคม 2554
ฟาร์มของพระราชินี ห้องเรียนสู่สมดุล 'ชีวิต' และ 'สิ่งแวดล้อม'
“ที่ฉันทำฟาร์มตัวอย่างนี้ เพื่อสอนชาวบ้านให้สะสมอาหารเพิ่มขึ้น จะได้ไม่มีปัญหาเรื่องอาหารการกิน และทำฟาร์มตัวอย่าง และอย่างที่ 2 คือต้องการให้ทุกๆ คน ที่ข้าพเจ้าพบปะได้มีอาชีพ มีทางทำมาหากิน คือ รับเขาเข้ามาแล้วจ่ายเงินให้เขาเป็นลูกจ้างในฟาร์มฯ เวลาเดียวกันเขาก็เห็นวิธีเลี้ยงเป็ด เลี้ยงแกะ เลี้ยงอะไร ตั้งหลายอย่าง ได้เงินและได้ค่าจ้างทุกวัน ข้าพเจ้าก็บอกว่าต้องการคนงานมากๆ เพื่อให้ชาวเขาเหล่านี้ได้มีงานทำ” พระราชดำรัสในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2546 ณ ศาลาดุสิดาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน
สิงหาคม 2554