โจทย์ที่ท้าทายของอีซูซุ
ในเมืองไทย ยอดขายรถกระบะระหว่างอีซูซุกับโตโยต้า วิ่งสูสีกันมาตลอด เพราะความนิยมในแบรนด์โตโยต้ากับอีซูซุของคนไทยนั้นใกล้เคียงกัน แต่ในลาวแล้ว ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นเหมือนหนังคนละม้วน
พฤษภาคม 2554
ทำไมในลาว...ต้องโตโยต้า
“ผมรับสมัครพนักงาน เรียกเขามาสัมภาษณ์ ก็ถามเขาว่ารู้ไหมว่าในลาวมีรถยนต์กี่ยี่ห้อ เขาตอบว่า 4-5 ยี่ห้อ ก็ถามต่อว่ามียี่ห้ออะไรบ้าง เขาตอบว่า มีวีโก้ มีฟอร์จูนเนอร์ มีแลนด์ครุยเซอร์ พราโด้ แล้วก็เลกซัส”
พฤษภาคม 2554
สีสันตลาดเกิดใหม่ ธุรกิจรถยนต์ลาว
ตลาดรถยนต์ สปป.ลาว เป็นตลาดที่เพิ่งถูกสร้างให้มีความคึกคักขึ้นในช่วงไม่เกิน 5 ปีมานี้เอง ความที่เป็นตลาดเกิดใหม่ จึงมีเรื่องราวที่มีสีสัน สนุกสนาน และน่าสนใจจนสมควรจะต้องบันทึกเอาไว้
พฤษภาคม 2554
Aftershocks: ผลกระทบจากแรงสั่นไหว
ความรุนแรงของเหตุแผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์สึนามิ รวมถึงมหันตภัยจากโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ เป็นผลให้ธุรกิจและโรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมากในเขต Tohoku ต้องปิดทำการหรือหยุดการผลิตลงชั่วคราว ซึ่งการหยุดชะงักของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในช่วงเหตุการณ์แผ่นดินไหว และระยะเวลาในการคลี่คลายความเสียหายในบางพื้นที่ ย่อมส่งผลกระทบให้เศรษฐกิจของญี่ปุ่นชะลอตัวไปด้วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
เมษายน 2554
ทางแพร่งด้านพลังงาน บทพิสูจน์ที่แท้จริงของญี่ปุ่น
แม้ว่าความพยายามที่จะแสวงหาแหล่งพลังงานทดแทน หรือแม้กระทั่งพลังงานทางเลือกของญี่ปุ่นเป็นประเด็นที่ครอบงำและเป็นปัจจัยที่กำหนดทิศทางให้กับแนวนโยบายสาธารณะมาอย่างต่อเนื่อง แต่ดูเหมือนว่าวิกฤติครั้งล่าสุดนี้จะช่วยปลุกให้ทั้งสังคมญี่ปุ่นและประชาคมนานาชาติได้ตระหนักตื่นมากกว่าครั้งใดๆ
เมษายน 2554
Renewable Beautiful Japan!
2011 Tohoku Earthquake and Tsunami นอกจากจะสร้างความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สินแก่ผู้คนอย่างกว้างขวางในทันทีแล้ว ผลกระทบจากภัยพิบัติครั้งนี้ยังส่งผ่านแรงสั่นสะเทือน เสมือนเป็น aftershocks ให้เกิดเป็นแรงตระหนักตื่น ในระดับนานาชาติด้วยเช่นกัน
เมษายน 2554
The Great Lessons จาก Kanto สู่ Hanshin ถึง Tohoku
โศกนาฏกรรมจากเหตุแผ่นดินไหวที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่นหรือเขต Tohoku ด้วยระดับความรุนแรง (Magnitude) 9.0 เมื่อวันที่ 11 มีนาคมที่ผ่านมา นับเป็นแผ่นดินไหวที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นและรุนแรงเป็นอันดับ 5 ของโลก
เมษายน 2554
การแก้ไขต้องเริ่มต้นจากความรู้และปัญหาที่แท้จริง
ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำนวยการศูนย์จัดการความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ สำนักงานงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกรรมการบริหาร รักษาการผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (สทอภ.)
มีนาคม 2554
แผ่นดินที่หายไปที่ “ขุนสมุทรจีน”
การแก้ปัญหาการกัดเซาะของชุมชนชายฝั่งหลายพื้นที่เริ่มตั้งหลักได้ คือความหวังที่ทำให้ชาวชุมชนบ้านขุนสมุทรจีน ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ เชื่อว่าพวกเขาก็น่าจะมีวิธีหยุดการกัดเซาะชายฝั่งได้เช่นกัน อีกทั้งพื้นที่แห่งนี้ยังเป็นพื้นที่ของเขื่อนป้องกันการกัดเซาะต้นแบบที่เป็นงานวิจัยของนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภายใต้ชื่อโครงการเขื่อนกั้นคลื่น 49A2 อีกด้วย
มีนาคม 2554