Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 

ข้อมูลประกอบเรื่อง แผ่นดินที่หายไปนิตยสารผู้จัดการ 360 องศา

  1 of 2  
 
มาตรการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในภาพรวม
สาเหตุ
แนวทางการแก้ปัญหา
แนวทางปฏิบัติ
หมายเหตุ

การทรุดตัวของแผ่นดิน จากการสูบน้ำบาดาล

 

หยุดหรือลด การสูบน้ำบาดาล

 

ประสานกับกรมทรัพยากร น้ำบาดาลในการติดตาม แผนระยะยาวเพื่อลด/หยุด การสูบน้ำบาดาล เป็นมาตรการบรรเทา ปัญหาแต่ไม่ทำให้พื้นดิน ยกตัวกลับขึ้นมาได้ ในระดับเดิม

สภาพคลื่นลมแรง ในฤดูมรสุมและ ช่วงเกิดพายุ

 

ลดความรุนแรงของคลื่น

 

สลายพลังงานคลื่นด้วย โครงสร้างชนิดต่าง ๆ

 

การเลือกชนิดของ โครงสร้างขึ้นกับเทคนิค และการยอมรับของคน ในพื้นที่

ชายฝั่งขาดเสถียรภาพ เพราะขาดตะกอนจาก แม่น้ำหลักมาเติมชายฝั่ง

 

เพิ่ม/เร่งการตก ตะกอนชายฝั่ง

 

-เพิ่มตะกอนโดยการ ดักตะกอนจากคลื่น


-นำตะกอนมาจากการ ขุดลอกร่องน้ำมาเพิ่มเติม

ควรศึกษาวิธีการดัก ตะกอนที่มีประสิทธิภาพ ในระยะยาว

 

สูญเสียแนวป้องกัน ชายฝั่งธรรมชาติ เพราะป่าชายเลนเสื่อมโทรมและ มีการบุกรุกป่าเพื่อ ใช้ประโยชน์ที่ดิน และมีการสร้างคันดิน ทำให้ระยะทางการตกตะกอน ในแนวป้องกันธรรมชาติลดลง

 

 

 

 

 

 

ฟื้นฟูป่าชายเลนที่มีอยู่เดิม และปลูกป่าชายเลนเพิ่มเติม และฟื้นฟูระบบนิเวศชายฝั่ง

 

 

 

 

 

 

 

ส่งเสริมให้มีการปลูกป่าใน ที่สาธารณะและเอกชน ทั้งในคันดินและนอกคันดิน ของบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

 

 

 

 

 

 

 

-ใช้มาตรการจูงใจให้ ประชาชนมีส่วนร่วมและ ชี้ให้เห็นผลประโยชน์ที่ได้ จากการปลูกป่าแก่ชุมชน

-ตั้งศูนย์การเรียนรู้เป็น ต้นแบบการอนุรักษ์และ ฟื้นฟูป่าชายเลน

-ส่งเสริมให้ปลูกป่า ภายในคันดินกว้าง 50 เมตร และปลูกป่าเสริมด้านนอก โดยมีเป้าหมาย 300-500 เมตร ในการเป็นแนวกันชน ตามธรรมชาติ

การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ

 

ชะลอการเปลี่ยนแปลง ในระยะยาว

 

เพิ่มการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นผลพลอยได้ จากการปลูกป่าชายเลน ใช้การฟื้นฟูป่าชายเลนใน โครงการนี้เป็นโครงการ นำร่องให้ได้ผลที่เป็น รูปธรรม

การขุดลอกตะกอนดิน ในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ ออกจากพื้นที่

 

 

ห้ามให้มีการ ขนย้ายตะกอน ออกจากพื้นที่

 

 

-ทำข้อตกลงร่วมกัน ภายในชุมชน และองค์กรปกครองท้องถิ่น

-บังคับใช้กฎหมาย โดยเคร่งครัด

-ประกาศเป็นเขต คุ้มครองสิ่งแวดล้อม

สร้างความตระหนักต่อ ประชาชนถึงผลเสียที่จะ เกิดตามมาในพื้นที่ตนเอง

 

 

ที่มา: โครงการจัดทำแผนหลักและแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ ชายฝั่งทะเลบริเวณอ่าวไทยตอนบน กรมทรัพยากรฯ


news stories




upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us