Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



วริษฐ์ ลิ้มทองกุล
มานิตา เข็มทอง
ภก.ดร. ชุมพล ธีรลดานนท์
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์
ติฟาฮา มุกตาร์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
สุปราณี คงนิรันดรสุข
สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย
วิรัตน์ แสงทองคำ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
รุ่งมณี เมฆโสภณ
ธีรัส บุญหลง
วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ
ธนิต แก้วสม
อนิรุต พิเศฏฐศลาศัย
วรรณปราณี ศักดิ์สราญรมย์
สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์
ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
พัชรพิมพ์ เสถบุตร
รับขวัญ ชลดำรงกุล
ธนิต วิจิตรพันธุ์
Jérôme René Hassler
ศศิภัทรา ศิริวาโท






 
จบมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอัมพรไพศาลและจบอักษรศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและได้รับทุนรัฐบาลฝรั่งเศส ไปศึกษาต่อทางด้านภาษาศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยเมืองนีซ

ทำงานที่สถานทูตฝรั่งเศส ประจำประเทศไทยเป็นเวลา 30 ปี (1972-2002) ตำแหน่งสุดท้ายเป็นผู้ช่วยทูตฝ่ายหนังสือพิมพ์ เคยได้รับอิสริยาภรณ์ Ordre National du Mrite ชั้น Chevaliver ตามประกาศในพระราชบัญญัติ วันที่ 8 กรกฎาคม 2003 ลงนามโดย นายณากส์ ชีรัก ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส

ปัจจุบันใช้ชีวิตที่ปารีส เป็นการถาวร

From Paris
 

ค่าครองชีพ นักอักษรศาสตร์ไม่ค่อยถูกชะตากับตัวเลข ไม่ทราบเหมือนกันว่าทำไมเป็นอย่างนั้น จำได้ว่าสมัยเรียนหนังสือ คะแนนที่ได้จากการสอบคณิตศาสตร์ไม่เคยต่ำกว่าเก้าสิบ หากพอเลือกเรียนสายศิลป์ ความปราดเปรื่องเรื่องเลขคณิตพานถูกภาษาต่างประเทศกลืนกินไปหมด แปลกใจจริงๆ กลายเป็นเป้านิ่งให้พี่น้องค่อนขอดเสมอมา( สิงหาคม 2548)
วิกฤติการณ์ของร้านขายของชำหรู ถึงแม้จะเคยศึกษาในฝรั่งเศส หากก็เป็นนักเรียนบ้านนอก นักเรียนทุนไม่ค่อยได้สัมผัสสินค้าหรู หากได้ยินชื่อ โฟชง (Fauchon) อยู่เสมอ สินค้าเดียวของโฟชงที่เคยสัมผัสคือ ชา ซื้อทุกครั้งที่ไปท่องฮ่องกง ซื้อกระป๋องใหญ่และกระป๋องเล็กเป็นของฝากญาติมิตร(5 กรกฎาคม 2548)
ขนมปังบาแก็ต ขนมปังเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมาตั้งแต่เล็ก แม่ชอบซื้อขนมปังปอนด์มาให้ลูกจิ้มกับนมข้นหวานตราเรือใบ กินเป็นของว่าง แต่แรกนั้นเป็นขนมปังกะโหลก เพราะทำเป็นกะโหลกนูนๆ อาจซื้อเพียงกะโหลกเดียวหรือสองกะโหลกหรือมากกว่านั้น ไม่ทราบเหมือนกันว่าใครเป็นผู้ผลิต และได้แรงบันดาลใจมาจากไหน( มิถุนายน 2548)
การถ่ายทำภาพยนตร์ในพิพิธภัณฑ์ การถ่ายทำรายการโทรทัศน์ฝรั่งเศสแบบ reality show ที่เกาะลันตา ทำให้ชาวฝรั่งคุ้นกับชื่อเกาะนี้ และแม้เมื่อมีการถ่ายทำรายการประเภทเดียวกันในประเทศอื่นๆ ก็ยังใช้ชื่อรายการว่า เกาะลันตา Koh Lanta( พฤษภาคม 2548)
การค้าไวน์ฝรั่งเศสมีปัญหา กันยายนถือเป็นเดือนที่ชาวฝรั่งเศสกลับมามีชีวิตตามปกติ ด้วยว่าได้ไปพักผ่อนประจำปีในช่วงฤดูร้อนมาแล้ว โดยผลัดกันไปเพื่อจะได้มีคนทำงานในหน่วยงานต่างๆ อย่างต่อเนื่อง การพักร้อนของชาวฝรั่งเศสเป็นเรื่องใหญ่ ด้วยเหตุนี้ช่วงเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม ผู้คนหายไปจากเมืองใหญ่ๆ ไปชุมนุมกันตามเมืองที่เป็นสถานีตากอากาศ หรือเดินทางไปต่างประเทศ( เมษายน 2548)
ธุรกิจโฆษณาในฝรั่งเศส เมื่อผู้บังคับบัญชาระดับสูงทราบว่า สาวใกล้ตัวทำงานด้านโฆษณาอยู่ จึงบอกให้ไปทำงานในฝรั่งเศส แถมย้ำว่าฝรั่งเศสเชี่ยวชาญธุรกิจด้านนี้ ครั้นบอกไปว่าสาวใกล้ตัวไม่รู้ภาษาฝรั่งเศส การชักชวนจึงยุติลง มาทราบภายหลังว่าพี่ชายของผู้บังคับบัญชาคนนี้มีตำแหน่งใหญ่โตในเอเจนซีอาวาส (Agence Havas) เป็นบุคคลสำคัญที่มีชื่อปรากฏใน Who's Who in France( มีนาคม 2548)
บูธขายหนังสือพิมพ์ในปารีส ร้านขายหนังสือพิมพ์ข้างบ้านเป็นหนุ่มเวียดนามอพยพที่แต่งงานกับสาวฝรั่งเศส เป็นร้านเล็กๆ ที่รกรุงรัง เอาหนังสือพิมพ์และนิตยสารวางไว้หน้าร้าน ง่ายต่อการให้ลูกค้าหยิบ เจ้าของจะออกมารับเงินเมื่อมีลูกค้า ข้างในเป็นเขตต้องห้าม ครั้งหนึ่งไปซื้อนิตยสาร หนุ่มเจ้าของร้านโอภาปราศรัยด้วยและถามว่าเป็นนักเขียนเกี่ยวกับแฟชั่นหรือ ไม่ทราบว่าพ่อหนุ่มไปทราบมาจากไหน( มกราคม 2548)
หอเอฟเฟล ฝรั่งเศสจัดงานเอ็กซ์โปนานาชาติ ในปี 1889 เพื่อฉลอง 100 ปีของการปฏิวัติฝรั่งเศส ในการนี้รัฐประสงค์ที่จะสร้างสิ่งก่อสร้างถาวร จึงมอบหมายให้กุสตาฟ เอฟเฟล (Gustave Eiffel) เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ วิศวกรผู้นี้เคยมีผลงานนับร้อย ชิ้นที่ทำด้วยโลหะ ดังเช่นโครงสร้างภายในของอนุสาวรีย์เสรีภาพในกรุงนิวยอร์ก( ธันวาคม 2547)
วิกฤติการณ์สื่อฝรั่งเศส ชาวฝรั่งเศสได้ชื่อว่าติดตามข่าวสารในประเทศและต่างประเทศอย่างใกล้ชิด โดยซื้อหนังสือพิมพ์อย่างน้อยคนละหนึ่งฉบับ จำนวนไม่น้อยซื้อหลายฉบับ จึงแปลกใจที่เห็นข่าวว่า สื่อที่เป็นสิ่งตีพิมพ์ประสบปัญหาหนักในปัจจุบัน ไม่เว้นแม้แต่เลอ มงด์ (Le Monde) เลอ ฟิกาโร (Le Figaro) และฟรองซ์ ซัวร์ (France Soir)( พฤศจิกายน 2547)
กว่าจะเป็นกุ๊ก เคยไปรับประทานอาหารที่ภัตตาคารทดลอง ของโรงเรียนการโรงแรมการครัวหลายครั้งหลายแห่ง นักเรียนฝึกการเสิร์ฟอาหารแต่ละคนมือใหม่ เก้ๆ กังๆ หยิบจับไม่ค่อยถูก หากมองเห็นความพยายาม ขั้นตอนที่ยากที่สุดคือการแล่เนื้อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็ดไก่และตักใส่จานลูกค้า ครูจะคอยกำกับ ชี้บอกวิธีการตัดและการเลาะกระดูก( ตุลาคม 2547)
 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10  



upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us