สตีฟ เคส
บรรยากาศรื่นเริงเถลิงศกใหม่ ยังไม่ทันจางดี ก็เกิดมีข่าวบันลือโลกให้ ครึกครื้นกันอีก!
เมื่อมีการประกาศควบรวมกิจการของสองบริษัทยักษ์ใหญ่ในสหรัฐ อเมริกา ระหว่างสื่อใหม่ที่เป็นยักษ์ใหญ่ทางด้านอ
ินเตอร์เน็ตคือ เอโอแอล หรือ อเมริกา ออนไลน์ (AOL - America Online) กับสื่อเก่าที่ถือได้ว่าเป็น
ยักษ์ใหญ่ทั้งทางด้านสื่อสิ่งพิมพ์เคเบิลทีวี ภาพยนตร์และสิ่งบันเทิงต่างๆ
ของโลกอย่างไทม์ วอร์เนอร์ ( Time Warner)…
( กุมภาพันธ์ 2543)
หนึ่งเดียวในเอเชีย ผู้กล้าขอคุมระบบการเงินโลก
ในจำนวนผู้ที่เสนอตัวเข้าชิงตำแหน่งกรรมการจัดการกองทุนการเงินระหว่างประเทศหรือไอเอ็มเอฟ
(IMF - International Monetary Fund) สืบแทน นายมิเชล กองเดอซูส์ (Michel
Camdessus) ที่ลาออกไป ปรากฏว่ามีคนเอเชียอยู่เพียงคนเดียว คือนายเอซุเกะ
ซะกะกิบะระ (Eisuke Sakaki - bara) อดีตรัฐมนตรีช่วยคลังรับผิดชอบด้านกิจการระหว่างประเทศของญี่ปุ่น
ซึ่งรู้จักกันดีในนามมิสเตอร์เยน (Mr.Yen) …
( มกราคม 2543)
ลาที... กองเดอซูส์
ช่วงเวลานี้จนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ปีหน้า
ถือได้ว่าเป็นข่วงเวลาแห่งการนับถอยหลังของมิเชล
กองเดอซูส์ (Michel Camdessus) กรรมการจัดการ
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund)
หรือ ไอเอ็มเอฟ (IMF) ซึ่งประกาศล้างมือในอ่างทองคำ
หลังจากที่อยู่ในตำแหน่งนี้นานถึง 3 เดือน
( ธันวาคม 2542)
ดร.อาร์พาด พุสซไท (Dr. Arpad Pusztai)
ดอกเตอร์อาร์พาด พุสซไท (Dr.Arpad Pusztai) วัย 68 ได้กลายเป็นศูนย์กลางของความขัดแย้งทาง
ความคิดเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดจากอาหารที่มีองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตที่ได้รับการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
หรือ GMOs - Genetically Modified Organisms ทั้งนี้ หลังจากที่เขาได้แถลงผลการวิจัยออกมาเมื่อกลางปีที่แล้ว
( พฤศจิกายน 2542)
มหาเดร์: นักรบแห่งเอเชีย
มูฮัมหมัด (Mahathir Mohamad) นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ยามนี้กับเมื่อ ปีที่แล้วแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง
เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2541 มา-เลเซียเริ่มต้นนโยบายคุมเข้มด้านเงินทุน
หรือ capital controls รวมทั้งกำหนด ค่าเงินริงกิตไว้ตายตัวที่ 3.8 ริงกิตต่อ
1 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งถือว่าเป็นมาตรการสำคัญในการตอบโต้ "นักเก็งกำไรค่าเงิน"
ที่ก่อให้เกิดวิกฤตการเงินอย่างรุน แรงในเอเชียและลุกลามไปทั่วโลก
( ตุลาคม 2542)