Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



วริษฐ์ ลิ้มทองกุล
มานิตา เข็มทอง
ภก.ดร. ชุมพล ธีรลดานนท์
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์
ติฟาฮา มุกตาร์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
สุปราณี คงนิรันดรสุข
สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย
วิรัตน์ แสงทองคำ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
รุ่งมณี เมฆโสภณ
ธีรัส บุญหลง
วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ
ธนิต แก้วสม
อนิรุต พิเศฏฐศลาศัย
วรรณปราณี ศักดิ์สราญรมย์
สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์
ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
พัชรพิมพ์ เสถบุตร
รับขวัญ ชลดำรงกุล
ธนิต วิจิตรพันธุ์
Jérôme René Hassler
ศศิภัทรา ศิริวาโท






 
พัชรพิมพ์ เสถบุตร : จบวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ปี 2519 และศึกษาต่อด้าน Water Resource Managerment ที่มหาวิทยาลัย Colorado State University สหรัฐอเมริกา ทำงานที่ USEPA (US Environmental Inspection Agency) สหรัฐอยู่ 2 ปี ผ่านการสอบรับรองเป็น Environmental Inspector กลับมาประเทศไทยทำงานบริษัทเอกชน สถานทูตอเมริกัน และ NGO ในช่วง 7-8 ปีที่ผ่านมา ออกมาทำงานในฐานะนักวิชาการอิสระด้านสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมในโครงการของ UNDP, GTZ, CIDA ปัจจุบันผันตัวเองมาเป็นนักเขียนที่มีผลงานออกมาเช่น พจนานุกรมอังกฤษ-ไทยร่วมสมัย พ.เสถบุตรจัดพิมพ์เผยแพร่โดยสำนักพิมพ์นานมี ศัพท์สิ่งแวดล้อม สนับสนุนการพิมพ์เป็นนวิทยาทานโดยบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ (ประเทศไทย)

Green Mirror
 

Eco-car เพื่ออนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมจริงหรือ? "นโยบาย Eco-car คลอดออกมาแล้ว สร้างความฮือฮามิใช่น้อยให้กับวงการรถยนต์บ้านเรา กระทรวงอุตสาหกรรมตั้งข้อกำหนดให้ Eco-car มีคุณสมบัติในการใช้น้ำมันไม่เกิน 5 ลิตรต่อ 100 กิโลเมตร (หรือ 20 กม. ต่อลิตร) มีการปล่อยไอเสียให้ได้ตามข้อกำหนดของ Euro 4 และมีมาตรฐานความปลอดภัยตามมาตรฐานของ EU..."( สิงหาคม 2550)
โอกาสของไทยจากวิกฤติโลกร้อน วิกฤติโลกร้อน นอกจากจะสร้างความตื่นตัวต่อการป้องกันภยันตรายที่กำลังจะมาถึงในอนาคตอันใกล้แล้ว ยังเปิดโอกาสในการทบทวนแนวทางการดำเนินงานด้านต่างๆ ในอดีตให้ไปในทิศทางที่ถูกต้องยิ่งขึ้น( กรกฎาคม 2550)
วิกฤติโลกร้อน หายนภัยและก้าวต่อไปของมนุษยชาติ มนุษยชาติกำลังเผชิญกับภัยธรรมชาติที่รุนแรงอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน เช่น พายุเฮอริเคนที่คร่าชีวิตคนอเมริกันในรัฐลุยเซียนาไปหลายพันคน ความแห้งแล้งยาวนานและไฟป่ารุนแรงในออสเตรเลีย น้ำท่วมในหลายประเทศ ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น สภาพพื้นที่ที่กลายเป็นทะเลทราย ความปรวนแปรทางธรรมชาติเหล่านี้ได้ถูกชี้ชัดแล้วว่าเป็นผลพวงอันเนื่องมาจากภาวะโลกร้อน( พฤษภาคม 2550)
 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6  



upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us