Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



วริษฐ์ ลิ้มทองกุล
มานิตา เข็มทอง
ภก.ดร. ชุมพล ธีรลดานนท์
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์
ติฟาฮา มุกตาร์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
สุปราณี คงนิรันดรสุข
สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย
วิรัตน์ แสงทองคำ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
รุ่งมณี เมฆโสภณ
ธีรัส บุญหลง
วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ
ธนิต แก้วสม
อนิรุต พิเศฏฐศลาศัย
วรรณปราณี ศักดิ์สราญรมย์
สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์
ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
พัชรพิมพ์ เสถบุตร
รับขวัญ ชลดำรงกุล
ธนิต วิจิตรพันธุ์
Jérôme René Hassler
ศศิภัทรา ศิริวาโท






 
พัชรพิมพ์ เสถบุตร : จบวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ปี 2519 และศึกษาต่อด้าน Water Resource Managerment ที่มหาวิทยาลัย Colorado State University สหรัฐอเมริกา ทำงานที่ USEPA (US Environmental Inspection Agency) สหรัฐอยู่ 2 ปี ผ่านการสอบรับรองเป็น Environmental Inspector กลับมาประเทศไทยทำงานบริษัทเอกชน สถานทูตอเมริกัน และ NGO ในช่วง 7-8 ปีที่ผ่านมา ออกมาทำงานในฐานะนักวิชาการอิสระด้านสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมในโครงการของ UNDP, GTZ, CIDA ปัจจุบันผันตัวเองมาเป็นนักเขียนที่มีผลงานออกมาเช่น พจนานุกรมอังกฤษ-ไทยร่วมสมัย พ.เสถบุตรจัดพิมพ์เผยแพร่โดยสำนักพิมพ์นานมี ศัพท์สิ่งแวดล้อม สนับสนุนการพิมพ์เป็นนวิทยาทานโดยบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ (ประเทศไทย)

Green Mirror
 

ธรรมชาติฟื้นตัวจากภัยพิบัติ...อย่างไร ช่วงนี้หลายๆ คนคงจะหวาดผวาไม่ใช่น้อยในเรื่องภัยพิบัติธรรมชาติต่างๆ ที่เกิดขึ้นหลายๆ แห่งทั่วโลก ทั้งแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด น้ำท่วม ไฟป่า พายุหมุน ดินถล่ม ยิ่งกว่านั้น! ยังเป็นที่แปลกใจกันว่า ทำไมปรากฏการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นไล่ๆ กัน หนำซ้ำโลกยังร้อนระอุไปด้วยภาวะโลกร้อนจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทำให้หลายคนมีความกังวลกันว่า ธรรมชาติที่ถูกทำลายนี้จะฟื้นคืนสภาพได้แค่ไหน อย่างไร และมนุษย์เราจะปรับตัวได้แค่ไหน บทความนี้จะชี้ให้เห็นคร่าวๆ ถึงผลกระทบและการฟื้นคืนสภาพจากหายนภัยที่ผ่านมา( ตุลาคม 2553)
สิ่งแวดล้อมของชาวกรุง-ไม่ยากเกินแก้ ช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคมที่ผ่านมา บรรยากาศในกรุงเทพฯ ดูจะคึกคักไปด้วยการหาเสียงเลือกตั้ง ส.ก. ส.ข. ...ส.ก. ส.ข. คืออะไร ชาวกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่ยังเข้าใจกันไม่ถ่องแท้นัก ทั้งๆ ที่ เป็นอะไรที่อยู่ใกล้ตัว เกี่ยวข้องกับชีวิตความ เป็นอยู่และการทำมาหากินโดยตรง แต่เท่าที่ผ่านมา ชาวกรุงก็ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง ส.ก. ส.ข. กันน้อยมาก สถิติโดยเฉลี่ยเพียง 37% เท่านั้น( กันยายน 2553)
Carbon cycle หวนคืนสู่วัฏจักรธรรมชาติ ทุกวันนี้ ถ้าใครไม่รู้เรื่องภาวะโลกร้อนเสียเลย นับว่าตกยุคตกสมัยไปหลายย่างก้าว ภาวะโลกร้อน (Global warming) หรือสภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (climate change) หรือการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (greenhouse gases) อันมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นตัวการสำคัญ ยังมีศัพท์อื่นที่อยู่ในเทรนด์อีกหลายคำ เช่น carbon footprint, carbon sink, carbon trading, carbon capture อันมีความหมายเชื่อมโยงไปถึงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยสู่บรรยากาศทั้งสิ้น( สิงหาคม 2553)
การขยายถนนขึ้นเขาใหญ่-การพัฒนาหรือการทำลาย?? ในมุมมองของนักอนุรักษ์ ถนนสายใหญ่ที่ผ่าเข้าไปในผืนป่าใหญ่ เป็นสิ่งต้องห้ามอย่างร้ายแรง เพราะก่อให้เกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมมากมาย อันเนื่องมาจากผืนป่าที่ถูกแบ่งแยก (fragmentation)( กรกฎาคม 2553)
Greening the GDP การพัฒนากับความเสื่อมโทรมของทรัพยากร สองคำนี้ฟังดูน่าจะอยู่ตรงข้ามกัน การพัฒนาหมายถึงการสร้างสิ่งที่มีอยู่ให้ดีขึ้น เจริญขึ้น ส่วนความเสื่อมโทรมก็อย่างที่เห็นๆ กัน เมื่อใช้อะไรไปมากขึ้นๆ ก็สูญสลายหรือเสื่อมโทรมไป ในการพัฒนาประเทศจึงต้องมีการวางแผนจัดการให้เกิดการขยายตัวและการยกระดับความเป็นอยู่โดยมีการเสื่อมโทรมน้อยที่สุด และถ้าทำได้ก็ต้องทำให้เกิดการหมุนเวียนคืนรูปให้มากที่สุด( มิถุนายน 2553)
Eco-efficiency (Eco = economic + ecology) การบูรณาการประสิทธิภาพเชิงเศรษฐนิเวศ Eco-efficiency เป็นอุดมการณ์อย่างหนึ่งที่จะเสริมสร้างสังคมโลกให้อยู่เย็นเป็นสุข โดยมีสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีการเติบโตทางเศรษฐกิจต่อไปได้เรื่อยๆ เช่นเดียวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน (sustainable development) และเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งในทางปฏิบัติจะเป็นไปได้ขนาดไหนนั้น ยังเป็นแต่แนวทางที่พยายามทำกันอยู่( พฤษภาคม 2553)
ภัยพิบัติทางธรรมชาติกับทฤษฎีต่างๆ ที่พยายามอธิบายเหตุและผล ในช่วงเวลาไม่กี่เดือนที่ผ่านมานี้ ทุกท่านคงได้ยินข่าวแผ่นดินไหวรุนแรงเกิดขึ้นหลายครั้งหลายแห่งติดๆ กัน และในขณะเดียวกันก็มีข่าวคราวเกี่ยวกับสภาพอากาศที่แปรปรวนสุดขั้วไปทั่วโลก ปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นความบังเอิญ หรือเป็นกระบวนการที่สัมพันธ์กันระหว่างการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกกับสภาพภูมิอากาศ( เมษายน 2553)
Toulouse (ตูลุส) เมืองที่เติบโตอย่างรวดเร็วแต่ลงตัว บางคนอาจจะรู้จัก Toulouse ในฐานะเมืองแห่งอุตสาหกรรมไฮเทค นักวิชาการหลายคนอาจจะเห็นว่า Toulouse เป็นเมืองแห่งการศึกษา และหลายๆ คนที่ศึกษาทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมก็รู้กันว่า Toulouse เป็นเมืองของฝรั่งเศสที่มีมรดกวัฒนธรรมมาจากยุคอาณาจักรโรมันอันรุ่งเรือง( มีนาคม 2553)
หลากทฤษฎีที่อธิบายความแปรปรวน ความผันแปรของสภาพภูมิอากาศจนก่อให้เกิดเป็นหายนภัยและภัยธรรมชาติ สร้างความสูญเสียแก่ชีวิตและทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก มีสาเหตุที่แท้จริงมาจากอะไร หลากหลายทฤษฎีพยายามแสวงหาคำตอบให้กับคำถามนี้ แต่คำถามที่ว่าเราควรเชื่อทฤษฎีของใครดี? ยังมีความสำคัญน้อยกว่าคำถามที่ว่า "แล้วนับจากนี้ เราควรจะปฏิบัติตัวอย่างไร?"( กุมภาพันธ์ 2553)
เมื่ออารยธรรมล่มสลายเพราะมนุษย์พยายามอยู่เหนือธรรมชาติ หลายคนตระหนักว่า ทรัพยากรธรรมชาติมีขอบเขตจำกัด แม้แต่ทรัพยากรที่คืนรูปได้ เช่น ลม แสงอาทิตย์ ก็ยังมีขีดจำกัด มีศักยภาพที่ใช้ได้เป็นบางเวลา และบางพื้นที่( มกราคม 2553)
 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6  



upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us