Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



วริษฐ์ ลิ้มทองกุล
มานิตา เข็มทอง
ภก.ดร. ชุมพล ธีรลดานนท์
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์
ติฟาฮา มุกตาร์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
สุปราณี คงนิรันดรสุข
สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย
วิรัตน์ แสงทองคำ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
รุ่งมณี เมฆโสภณ
ธีรัส บุญหลง
วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ
ธนิต แก้วสม
อนิรุต พิเศฏฐศลาศัย
วรรณปราณี ศักดิ์สราญรมย์
สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์
ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
พัชรพิมพ์ เสถบุตร
รับขวัญ ชลดำรงกุล
ธนิต วิจิตรพันธุ์
Jérôme René Hassler
ศศิภัทรา ศิริวาโท






 
พัชรพิมพ์ เสถบุตร : จบวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ปี 2519 และศึกษาต่อด้าน Water Resource Managerment ที่มหาวิทยาลัย Colorado State University สหรัฐอเมริกา ทำงานที่ USEPA (US Environmental Inspection Agency) สหรัฐอยู่ 2 ปี ผ่านการสอบรับรองเป็น Environmental Inspector กลับมาประเทศไทยทำงานบริษัทเอกชน สถานทูตอเมริกัน และ NGO ในช่วง 7-8 ปีที่ผ่านมา ออกมาทำงานในฐานะนักวิชาการอิสระด้านสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมในโครงการของ UNDP, GTZ, CIDA ปัจจุบันผันตัวเองมาเป็นนักเขียนที่มีผลงานออกมาเช่น พจนานุกรมอังกฤษ-ไทยร่วมสมัย พ.เสถบุตรจัดพิมพ์เผยแพร่โดยสำนักพิมพ์นานมี ศัพท์สิ่งแวดล้อม สนับสนุนการพิมพ์เป็นนวิทยาทานโดยบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ (ประเทศไทย)

Green Mirror
 

ประชากรล้นโลกหรือลดลง ดูเหมือนความกังวลใจเรื่องปากท้อง ความอยู่รอดของชาวโลกในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาจะวนเวียนอยู่กับปัญหาประชากรที่มากเกินไปและมีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดเป็นพหุคูณ ในทศวรรษของปี 1950 หลังจากผ่านมหาสงครามโลกครั้งที่สองมาหมาดๆ โลกมีประชากรเหลืออยู่เพียง 2.5 พันล้านคน ปัจจุบันเพิ่มขึ้น 6.5 พันล้าน ช่วงเวลา 60 กว่าปี ทำให้ประชาคมโลกเกิดความห่วงใยด้านขีดจำกัดของทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อม( กันยายน 2554)
ภาษาคน ภาษาสัตว์ วิวัฒนาการแห่งการสื่อสาร ภาษาเปรียบได้กับสิ่งมีชีวิต มีการเกิดใหม่ การแปรเปลี่ยนไป และการสูญสลายไปได้อยู่เสมอ เราจึงจำต้องติดตามและเรียนรู้ภาษาอยู่ตลอดชีวิต ผู้ที่พยายามกำหนดภาษาให้คงอยู่เหมือนเดิมย่อมไร้ผล เพราะเป็นการกระทำที่ฝืนธรรมชาติ( สิงหาคม 2554)
Can Earthquakes Be Predicted? แผ่นดินไหว รู้ล่วงหน้าได้จริงหรือ หลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวรุนแรงขนาด 9 ริกเตอร์ เกิดขึ้นที่ Fukushima ประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ที่ผ่านมา ได้เกิดแผ่นดินไหวต่อเนื่องตามกันมาอีกหลายครั้ง ทั้งที่เป็น after-shocks ในญี่ปุ่น และที่เกิดขึ้นตามรอยเลื่อนในส่วนอื่นๆ ของโลกอีกหลายแห่ง( มิถุนายน 2554)
นิวเคลียร์! ควบคุมได้จริงหรือ? มหันตภัยจากฝีมือมนุษย์ที่ก่อผลร้ายแรงเป็นระยะยาวและแผ่กว้างไปไกลนั้น เห็นจะไม่มีอะไรเกินไปกว่า การระเบิดของ นิวเคลียร์( พฤษภาคม 2554)
เราจะเลือกเอาอะไร... อาหาร หรือพลังงาน ความหวาดหวั่นในเรื่องอาหารและพลังงานที่นักวิชาการหลายคนตั้งข้อกังขาไว้ กำลังจะเกิดขึ้นแล้ว ความต้องการพลังงานเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจากการพัฒนาเศรษฐกิจ จากการเร่งรัดการพัฒนาสู่โลกนวัตกรรม จากการยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน สิ่งเหล่านี้ล้วนต้องการเชื้อเพลิงและพลังงาน แต่แหล่งพลังงานกำลังเหือดหายลงไป ด้วย มีปริมาณจำกัด ประเทศจีนและอินเดียซึ่งกำลังพัฒนาอย่างก้าวกระโดด กำลังกระหายพลังงานเป็นอย่างยิ่ง( เมษายน 2554)
ทำไมต้องนิวเคลียร์ ทุกวันนี้หลายๆ คนหลายๆ ฝ่ายเริ่มตระหนักแล้วว่า สถานการณ์พลังงานที่จำกัดเร่งรัดให้เราต้องหันมาพิจารณาพลังงานนิวเคลียร์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งๆ ที่รู้กันอยู่เต็มอกว่า การใช้นิวเคลียร์เป็นความเสี่ยงมากที่สุดอย่างหนึ่งของมนุษยชาติ แต่เราก็ไม่มีทางเลือก( มีนาคม 2554)
“ไม่แน่นอน” และ “แตกต่าง” Keyword จากโลกร้อน ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นหลายๆ แห่งในโลกทุกวันนี้ ถูกอ้างว่าเป็นผลมาจากภาวะโลกร้อน อันเนื่องมาจากการสะสมของก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศ มาถึงบัดนี้ เป็นที่แน่นอนแล้วว่า กิจกรรมการเผาไหม้เชื้อเพลิงของมนุษย์นั้นคือตัวการสำคัญที่ก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจกในปริมาณมากในเวลาที่รวดเร็ว จนทำให้เกิดความร้อนระอุสะสมอยู่ในบรรยากาศโลก( กุมภาพันธ์ 2554)
ก้าวเข้าสู่...สังคมคาร์บอนต่ำ สังคมคาร์บอนต่ำ หรือ Low Carbon Society มีความหมายตรงตัว ไม่ได้ซับซ้อนอะไร กล่าวคือ เป็นสังคมที่ใช้เชื้อเพลิงคาร์บอนต่ำ (เชื้อเพลิงส่วนใหญ่อยู่ในรูปของคาร์บอน) โดยอาศัยเทคโนโลยีเชื้อเพลิงและพลังงานทดแทนใหม่ๆ เข้ามาแทนที่การใช้พลังงานแบบเดิมๆ แต่ยังคงมีการเติบโตทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตที่ดี( มกราคม 2554)
น้ำท่วม น้ำแล้ง ปัญหาเดียวกัน ในช่วงเดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน ประเทศไทยจะต้องผจญกับปัญหาน้ำท่วม ตามมาด้วยแผ่นดินถล่มเป็นประจำทุกปี และช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมก็ต้องเจอกับปัญหาน้ำแล้งที่ร้อนระอุไปทั่ว ตกลงประเทศไทยที่เคยขึ้นชื่อว่า ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว มีช่วงที่อยู่ได้อย่างพอเพียงประมาณ 6 เดือนเท่านั้น( ธันวาคม 2553)
จัดการมลพิษ...แบบชาติเศรษฐกิจ มลพิษอุตสาหกรรมเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นเกือบทุกประเทศที่มีอุตสาหกรรม กรณีมาบตาพุดมิได้เป็นปัญหาพิเศษแต่อย่างใด หากปัญหาทำนองเดียวกันนี้เกิดขึ้นมาแล้วหลายครั้งในชาติอุตสาหกรรมหลายประเทศ ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐฯ ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส เยอรมนี รัสเซีย ต่างล้วนมีประสบการณ์การแก้ปัญหามลพิษมาอย่างยากเย็น เข็ญใจ กว่าจะสัมฤทธิผลก็ต้องกินเวลาเข้าไปหลายทศวรรษ( พฤศจิกายน 2553)
 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6  



upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us