พลังงานหมุนเวียนตัวช่วยเกษตรและชลประทาน
เมื่อไม่นานมานี้ ผู้เขียนได้รับเชิญจากสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ให้ไปเยี่ยมชมโครงการชลประทานและโครงการเกษตรอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่จังหวัดเพชรบุรี โดยโครงการทั้งสองเป็นเพียงส่วนหนึ่งของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริจำนวนมากที่ริเริ่มโดยมูลนิธิหลายแห่งในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
( กันยายน 2554)
ฟื้นคุณภาพน้ำ สร้างสุขสังคมเมือง
ในบทนี้จะกล่าวถึงความสำคัญของแม่น้ำลำคลองในกรุงเทพฯ และบทเรียนที่ดีจากแนวทางการรักษาแม่น้ำลำคลองในเมืองต่างๆ ของบางประเทศในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
( สิงหาคม 2554)
การวางผังเมืองกับปัญหาโลกร้อน
เมืองที่ปลอดรถยนต์และสร้างเพื่อคนเดินเท้าจะทำให้เรามีสุขภาพที่ดีขึ้นและมีชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ชุมชนเมืองแห่งแรกเกิดขึ้นเมื่อ 6,000-7,000 ปีก่อน บนดินแดนที่เรียกว่า เมโสโปเตเมีย ซึ่งเป็นพื้นที่เกษตรกรรมอันอุดมสมบูรณ์ ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำ 2 สายของประเทศอิรักปัจจุบัน คือแม่น้ำยูเฟรติส และไทกริส
( กรกฎาคม 2554)
‘เติบโตไร้ระเบียบ’ ภัยคุกคามอนาคตเมือง ‘มาเก๊า’
ในบทความเก่าๆ ผมเคยกล่าวถึงการคิดใหม่เกี่ยวกับอนาคตของเมืองในเอเชีย และครั้งนี้ก็เช่นกัน โดยประเด็นสำคัญยังคงอยู่ที่ว่า เมืองบางเมืองในเอเชีย ตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความเจริญก้าวหน้ามาก แต่ความก้าวหน้าเหล่านี้จะส่งผลต่ออนาคตของเมืองอื่นๆ ในเอเชียอย่างไร
( พฤษภาคม 2554)
พลังงานลมกำลังเปลี่ยนแปลงตลาดพลังงานโลก
ตอนก่อนๆ ของคอลัมน์นี้เคยกล่าวถึงอันตรายของพลังงานนิวเคลียร์ และเหตุการณ์วิกฤติแผ่นดินไหวในญี่ปุ่นที่เพิ่งเกิดขึ้น สิ่งที่ปรากฏให้เห็นเป็นเครื่องพิสูจน์ว่าอันตรายที่เคยกล่าวถึงนั้นเป็นความจริง เพราะแผ่นดินไหวรุนแรงขนาด 9.0 ริกเตอร์ ที่ญี่ปุ่นนั้น ดูเหมือนจะทำให้โลกเข้าใกล้อันตรายที่จะเกิดจากการหลอมละลายของนิวเคลียร์ แม้ว่าในกรณีของญี่ปุ่นยังเห็นไม่ชัดว่าจะส่งผลร้ายอย่างไร แต่ผลร้ายนั้นคงจะมีลักษณะคล้ายกับที่เคยเกิดขึ้นจากการระเบิดของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ schernobyl ในประเทศยูเครนเมื่อปี 1986
( เมษายน 2554)
ความร้อนใต้พิภพ: พลังงานทางเลือกแห่งอนาคต
ในบทความครั้งก่อนกล่าวถึงเหตุผลที่พลังงานนิวเคลียร์อาจไม่ใช่คำตอบของปัญหาพลังงานของไทย เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายที่ซ่อนเร้นมหาศาล และมีความเสี่ยงด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ถ้าเช่นนั้นไทยควรใช้พลังงานทางเลือกใด หากไม่ใช่พลังงานนิวเคลียร์
( มีนาคม 2554)
“นิวเคลียร์” ตัวเลือกที่ “ถูก” จริงหรือ?
ปัญหาที่ท้าทายที่สุดของมวลมนุษยชาติ คือการลดความยากจนและการแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก หรือปัญหาโลกร้อน หลายประเทศเห็นว่าการสร้างความเติบโตทางสังคมและเศรษฐกิจ เป็นกุญแจสำคัญที่จะลดความยากจนได้ แต่ขณะเดียวกันความต้องการใช้พลังงานและการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Green house gas: GHG) ก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน
( มกราคม 2554)
การส่งเสริมการเกษตรในเมืองกับแก้ปัญหาการขาดแคลนอาหาร
ได้กล่าวมาหลายครั้งแล้วถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับสังคมเศรษฐกิจและสภาพแวดล้อม จากการที่เมืองต่างๆ ในเขตอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (GMS) มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ได้คาดการณ์ไว้ตั้งแต่ปี 2000 ว่า ภายในปี 2015 จำนวน 26 เมืองทั่วโลกที่มีประชากรตั้งแต่ 10 ล้านคนขึ้นไป จะมีถึง 16 เมืองที่จะเป็นเมืองในเอเชีย
( มีนาคม 2552)
Let's Talk Urban...การจัดการความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติในลุ่มน้ำโขง
ปัญหาภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงหรือเรียกง่ายๆ ว่า ปัญหาโลกร้อน เป็นภัยคุกคามต่อสังคมมนุษย์ ที่สำคัญมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์มากมายทั่วโลกที่ยืนยันตรงกันว่า ระดับที่เพิ่มสูงขึ้นของก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเกิดจากฝีมือมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นสาเหตุของปัญหาภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลง
( ตุลาคม 2551)
การจัดการสิ่งแวดล้อมของไทยในบริบทเอเชีย
กลางเดือนกรกฎาคม มีการประชุมระดับนานาชาติครั้งสำคัญว่าด้วยการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยจัดขึ้นที่ศูนย์ประชุมเมืองพัทยา มีผู้เข้าร่วมประชุมหลายร้อยคน ทั้งนักวิชาการ นักการเมือง ข้าราชการจากส่วนกลางและส่วนท้องถิ่นของไทย ตัวแทนจากองค์กรต่างๆ ของสหประชา ชาติ และองค์กรพัฒนาเอกชนทั่วเอเชีย
( กันยายน 2551)