Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



วริษฐ์ ลิ้มทองกุล
มานิตา เข็มทอง
ภก.ดร. ชุมพล ธีรลดานนท์
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์
ติฟาฮา มุกตาร์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
สุปราณี คงนิรันดรสุข
สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย
วิรัตน์ แสงทองคำ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
รุ่งมณี เมฆโสภณ
ธีรัส บุญหลง
วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ
ธนิต แก้วสม
อนิรุต พิเศฏฐศลาศัย
วรรณปราณี ศักดิ์สราญรมย์
สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์
ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
พัชรพิมพ์ เสถบุตร
รับขวัญ ชลดำรงกุล
ธนิต วิจิตรพันธุ์
Jérôme René Hassler
ศศิภัทรา ศิริวาโท






 
Jérôme René Hassler : นักวิจัยจากเยอรมันนี สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย Humboldt กรุงเบอร์ลิน ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาการพัฒนาเมืองและสิ่งแวดล้อมของสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (Thailand Environment Institute: TEI) โดยชำนาญการด้านการปรับเปลี่ยนของสภาพภูมิอากาศและการพัฒนาเมืองแบบยั่งยืน

Think Urban
 

อาหาร GMO ปัญหาใกล้ตัวและใหญ่ระดับโลก เมือง Dendermonde ในเบลเยียม มีการเปิดพิจารณาคดีเกี่ยวกับพืชดัดแปลงตัดแต่งพันธุกรรม (genetically-modified organism (GMO) เมื่อเดือนพฤษภาคม มีนักเคลื่อนไหว 11 คนถูกฟ้องร้องในข้อหา ทำลายแปลงทดลองปลูกมันฝรั่ง GMO? คดีนี้ไม่เพียงเป็นที่สนใจในเบลเยียม แต่ยังเป็นที่สนใจไปทั่วโลก และเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลต่อภาคการเกษตรของไทยด้วย ทั้งที่เป็นคดีความที่เกิดขึ้นในประเทศที่ห่างไกลจากไทย เพราะสาเหตุดังต่อไปนี้( มิถุนายน 2555)
Los Angeles ระบบขนส่งมวลชนฉลาด เมืองกระชับ ผู้เขียนได้ไปเยือนหลายเมืองแถบชายฝั่งตะวันตกของสหรัฐฯ เมื่อเร็วๆ นี้ ทำให้นึกเปรียบเทียบปัญหาการพัฒนาเมืองของไทยที่มีผลกระทบจากการเติบโตของเมืองอย่างไร้การควบคุมและไร้ทิศทาง หรือ “การเติบโตของเมืองแบบกระจัดกระจายไร้ทิศทาง” (urban sprawl) ซึ่งหมายถึงการแผ่ขยายตัวจากใจกลางเมืองออกไปสู่เขตรอบนอกของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ( พฤษภาคม 2555)
เงินทุนเพื่อการกอบกู้โลก ส่วนที่ 5 ที่ว่าด้วยเรื่องสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศที่เล็งมาที่ไทยเพื่อสนับสนุนด้านเงินทุนที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน รวมทั้งเป็นประเด็นสำคัญในการเริ่มต้นและทำให้กระบวนการของการพัฒนาโครงการพลังงานทดแทนเกิดขึ้นและเป็นจริง( เมษายน 2555)
ปัญหาแค่ชั่วคราว แต่โอกาสยั่งยืน ส่วนที่ 4 ปัญหาและอุปสรรคของผู้ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน จากการพูดคุยกับผู้มีบทบาทต่อธุรกิจพลังงานทดแทนในไทย ได้แก่ องค์กรช่วยเหลือต่างๆ และธนาคารเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ พบว่า มีอุปสรรคหลายระดับเป็นสาเหตุให้เกิดช่องว่างขนาดใหญ่ระหว่างศักยภาพกับเป้าหมายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนของไทย( เมษายน 2555)
นิวเคลียร์ หรือ ทดแทน แนวทางที่ไทยต้องเลือกให้ถูก ส่วนที่ 3 นโยบายด้านพลังงานทดแทนของรัฐบาลไทย นโยบายพลังงานของไทยปรากฏอยู่ในเอกสารสำคัญ 3 ฉบับคือ แผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้า แผนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ 2553-2573 และแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 2551-2565 ซึ่งรัฐบาลไทยทั้งชุดก่อนและชุดปัจจุบัน กำลังปฏิบัติตามแผนเหล่านี้เพื่อแก้ปัญหาพลังงานของไทย( เมษายน 2555)
พลังงานทดแทนของไทย มีศักยภาพแต่ยังไม่มีบทเด่น ส่วนที่ 2 ความสำคัญของพลังงานทดแทนต่อสังคมเศรษฐกิจไทย และเพราะเหตุใดไทยจึงมีความต้องการใช้พลังงานเพิ่มขึ้นอย่างมาก ไทยประสบความสำเร็จอย่างสูงในการใช้กลยุทธ์สร้างการเติบโต เป็นหนึ่งในประเทศเอเชียที่มีการเติบโตทางสังคมและเศรษฐกิจสูงมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา ซึ่งช่วยลดความยากจนและทำให้ชนชั้นกลางเติบโต( เมษายน 2555)
พลังงานทดแทน มั่นคงได้ไม่แพ้นิวเคลียร์ ส่วนที่ 1 บริบทด้านสิ่งแวดล้อมและด้านเศรษฐกิจสังคมของประเทศไทยและของโลก สิ่งที่เห็นได้ชัดเจนทั่วโลกในปัจจุบันก็คือ ปัญหาโลกร้อน เป็นปัญหาระดับโลกที่ส่งผลต่อทั้งเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย คงต้องย้ำกันว่า ปัจจุบันเรื่องพลังงานทดแทนไม่ใช่ประเด็นสำหรับนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ไม่ใช่ตลาดเฉพาะ (Niche market) แต่เป็นตลาดที่ประเทศที่มีความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสูงอย่างในเยอรมนีและเดนมาร์ก ใช้เป็นทางเลือกหลักในการผลิตพลังงานเพื่อตอบสนองความต้องการภายในประเทศเป็นสัดส่วนถึง 1 ใน 5 ของพลังงานทั้งหมด หรือมากกว่า 20% แล้วในตอนนี้( เมษายน 2555)
นโยบายทุน เทคโนโลยี เปลี่ยนธรรมชาติเป็นพลังงานไม่รู้จบ “ลาวเป็นแบตเตอรี่ของไทย ถ้าลาวถอดปลั๊ก ผู้ประกอบการไทยคงเจอปัญหาใหญ่” คำกล่าวรายงานต่อที่ประชุมสหประชาชาติที่กรุงเทพฯ ของหม่อมราชวงศ์พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ รัฐมนตรีอุตสาหกรรม เมื่อเร็วๆ นี้เป็นเพียงคำกล่าวสั้นๆ แต่สามารถสรุปสถานการณ์ความมั่นคงด้านพลังงานของไทยได้เป็นอย่างดี( เมษายน 2555)
ช่วยโลก ช่วยเรา คอลัมน์ของผมในเดือนนี้จะกล่าวถึง สิ่งที่อาจช่วยลดผลกระทบจากปัญหาภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง และจะชี้ให้เห็นว่าการ กระทำที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมโดยตรงยังสามารถสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้ด้วย( มีนาคม 2555)
โครงการหลวงกับการแก้ปัญหาขาดแคลนน้ำ บทความที่ผ่านมาในคอลัมน์นี้จะเน้นกล่าวถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนในเขตเมือง แต่สำหรับเดือนนี้ ผมต้องการขยายขอบเขต บทความของผมให้ครอบคลุมถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนในภาคเกษตรของไทยด้วย( ตุลาคม 2554)
 1 | 2  



upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us