Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



วริษฐ์ ลิ้มทองกุล
มานิตา เข็มทอง
ภก.ดร. ชุมพล ธีรลดานนท์
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์
ติฟาฮา มุกตาร์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
สุปราณี คงนิรันดรสุข
สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย
วิรัตน์ แสงทองคำ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
รุ่งมณี เมฆโสภณ
ธีรัส บุญหลง
วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ
ธนิต แก้วสม
อนิรุต พิเศฏฐศลาศัย
วรรณปราณี ศักดิ์สราญรมย์
สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์
ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
พัชรพิมพ์ เสถบุตร
รับขวัญ ชลดำรงกุล
ธนิต วิจิตรพันธุ์
Jérôme René Hassler
ศศิภัทรา ศิริวาโท






 
จบมัธยมศึกษาจากสวนกุหลาบวิทยาลัย ปริญญาตรี คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์หาวิทยาลัย ปริญญาโทและเอก จากคณะเภสัชศาสตร์ Chiba University, Japan


Japan Walker
 

Natural Selection ในบ่ายวันอาทิตย์ของเดือนสิงหาคมกลางฤดูร้อน ขณะที่ยืนรอข้ามถนน 5 แยกใหญ่หน้าสถานี ชิบุยะ เสียงเพลงที่เริ่มกระหึ่มมาจากจอมอนิเตอร์ยักษ์บนชั้น 2 ของตึกฝั่งตรงข้าม ชวนให้หลายคนในละแวกนั้นเริ่มขยับเท้าไปตามจังหวะเดียวกับแดนเซอร์ในจอมอนิเตอร์ที่ดูเหมือนว่าจะเป็นรายการสดจากที่ไหนสักแห่งในชิบุยะ( ตุลาคม 2547)
Japanese Mobile in Summer 2004 เผลอแป๊บเดียวโทรศัพท์มือถือเครื่องเก่งที่ใช้อยู่ขณะนี้ก็มีอายุครบปีเสียแล้ว การใช้งานโดยทั่วไปยัง ถืออยู่ในสภาพที่ดีใกล้เคียงกับตอนที่ซื้อมาใหม่ๆ (ในราคา 1 เยน) อีกทั้งการดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ เป็นต้นว่า พยากรณ์อากาศ ตารางเวลารถไฟ เพลงและคาราโอเกะ ก็ทำได้รวดเร็วทันใจ( กันยายน 2547)
Nihon no Konbinii ทันทีที่สิ้นเสียง ปิ๊งป่อง! "Irasshaimase Konnichiwa" ก็ดังตามมาราวกับถูกตั้งโปรแกรมเอาไว้ที่ประตูทางเข้าร้านสะดวกซื้อทุกร้านในญี่ปุ่น ซึ่งคงจะเป็นรูปแบบการทักทายลูกค้าที่คล้ายกันของร้านสะดวกซื้อทั่วโลก แต่อยากจะให้มาได้ยินด้วยตัวเองว่า น้ำเสียงในการทักทายของพนักงานขายของร้านสะดวกซื้อที่นี่ เต็มไปด้วยความกระฉับกระเฉงที่พร้อมจะให้บริการตลอด 24 ชั่วโมงจริงๆ( สิงหาคม 2547)
Service Area โดยทั่วไปแล้วสมาธิในการทำงานของคนเรานั้นเฉลี่ยอยู่ในช่วง 30-50 นาทีแรก นั่นหมายความว่าพอเริ่มเข้าสู่ชั่วโมงที่สองของการทำงาน ความอ่อนเพลีย ความเมื่อยล้าเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ประสิทธิผลของงานลดลง ในทางกลับกันการ ได้หยุดพักคลายเครียดสัก 5-10 นาทีในทุกๆ 1-2 ชั่วโมงจะช่วยเสริมประสิทธิภาพในการทำงานได้อย่างต่อเนื่อง( มิถุนายน 2547)
5 พฤษภาคม วันเด็ก (ชาย) ตั้งแต่ปี ค.ศ.1948 เป็นต้นมา วันที่ 5 พฤษภาคม ถูกกำหนดให้เป็นวันหยุดประจำปี เนื่องในโอกาสวันเด็กแห่งชาติ ถึงแม้จะไม่ได้ระบุให้ชัดเจนก็ตาม ในทางปฏิบัติแล้ว "วันเด็ก" ของญี่ปุ่นในที่นี้หมายถึงวันเด็กสำหรับเด็กผู้ชาย ส่วนวันสำหรับเด็กผู้หญิงจะจัดในวันที่ 3 มีนาคม( พฤษภาคม 2547)
ออนเซนเพื่อสุขภาพและความงาม ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่พัฒนาเพื่อการขุดเจาะนำเอาน้ำแร่จากใต้พื้นดินของโตเกียว ขึ้นมาทำออนเซนกลางกรุงได้สำเร็จเมื่อหนึ่งปีก่อนนั้น เป็นการช่วยเพิ่มสีสันใหม่ให้กับชีวิตของคนเมืองหลวงอย่างโตเกียว ( เมษายน 2547)
3 มีนาคม วันเด็ก (หญิง) ถึงแม้ว่าวันที่ 3 เดือน 3 ในปฏิทินของญี่ปุ่นจะเป็นเพียงวันธรรมดาวันหนึ่งที่คนส่วนใหญ่ไปทำงานกันตามปกติ แต่สำหรับเด็กผู้หญิงโดยเฉพาะระดับชั้นประถมแล้ว งานเทศกาลตุ๊กตาฮินะ (Hina Matsuri) ที่จัดขึ้นเป็นพิเศษทำให้วันนี้เป็นวันที่พวกเธอมีความสุขที่สุดวันหนึ่งในรอบปีเลยก็ว่าได้( มีนาคม 2547)
คาฟูนโชว เหลืออีกเพียงแค่เดือนเดียวฤดูใบไม้ผลิที่ใครหลายคนเฝ้ารอก็จะมาเยือนอีกครั้ง อากาศที่อบอุ่นพร้อมกับการผลิดอกซากุระที่แต่งแต้มญี่ปุ่นให้กลายเป็นสีชมพูไปทั่วทั้งเกาะ แค่นึกถึงภาพช่วงเวลาที่สวยที่สุดในรอบปี และฮานามิใต้ต้นซากุระก็อยากให้ฤดูหนาวในเดือนกุมภาพันธ์ผ่านพ้นไปเร็วๆ ถึงกระนั้นก็ตามยังมีใครอีกหลายๆ คนที่ไม่อยากให้เวลานั้นมาถึง เพราะนั่นหมายถึงช่วงเวลาที่ทรทานจากสิ่งที่เรียกว่า คาฟูนโชว (Kafunshou)( กุมภาพันธ์ 2547)
ฮอกไกโด (2) : โอตารุ พอเสร็จหน้าที่หลักจากงาน symposium ที่ซัปโปโรแล้ว เหลือเวลาอีก 2 วันสำหรับอยู่เที่ยวต่อที่ฮอกไกโด ตอนแรกตั้งใจว่าจะไปฮาโกดาเตะ ซึ่งเป็นเมืองที่สวยมากในตอนกลางคืน ภาพถ่ายจากบนภูเขาในโปสเตอร์มองเห็นฮาโกดาเตะที่ประดับด้วยไฟสว่างไสวไปทั้งเมือง ( มกราคม 2547)
ฮอกไกโด : ซับโปโร ฤดู symposium เป็นศัพท์ที่นักศึกษาระดับบัณฑิตวิทยาลัยของญี่ปุ่นใช้เรียกช่วงฤดูใบไม้ร่วง ที่กินความครอบคลุมไปถึงช่วงที่งานยุ่งที่สุดช่วงหนึ่งของปี กับการมีโอกาสได้ไปเที่ยว (ถ้าบังเอิญได้จังหวะพอดี) ตามต่างจังหวัดที่จัดงาน symposium นั้น ซึ่งคราวนี้เป็นโอกาสที่ดีได้บินไปไกลถึง "ฮอกไกโด"( ธันวาคม 2546)
 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10  



upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us