Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



วริษฐ์ ลิ้มทองกุล
มานิตา เข็มทอง
ภก.ดร. ชุมพล ธีรลดานนท์
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์
ติฟาฮา มุกตาร์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
สุปราณี คงนิรันดรสุข
สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย
วิรัตน์ แสงทองคำ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
รุ่งมณี เมฆโสภณ
ธีรัส บุญหลง
วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ
ธนิต แก้วสม
อนิรุต พิเศฏฐศลาศัย
วรรณปราณี ศักดิ์สราญรมย์
สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์
ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
พัชรพิมพ์ เสถบุตร
รับขวัญ ชลดำรงกุล
ธนิต วิจิตรพันธุ์
Jérôme René Hassler
ศศิภัทรา ศิริวาโท






 
จบมัธยมศึกษาจากสวนกุหลาบวิทยาลัย ปริญญาตรี คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์หาวิทยาลัย ปริญญาโทและเอก จากคณะเภสัชศาสตร์ Chiba University, Japan


Japan Walker
 

AKB48 พวกเธอสร้างปรากฏการณ์ทางสังคมรูปแบบใหม่ในญี่ปุ่น พวกเธอครอบครองสถิติ “ที่สุดในโลก” ใน Guinness World Records ไว้หลายรายการ พวกเธอแสดงคอนเสิร์ต 365 วันต่อปี พวกเธอที่ว่าคงเป็นใครอื่นไปไม่ได้นอกจากกลุ่ม Girl Idol ที่ชื่อ AKB48( กรกฎาคม 2555)
Machikon Machikon คำนี้กำลังเป็นคีย์เวิร์ดที่ได้รับการกล่าวถึงบ่อยครั้งที่สุดคำหนึ่งในกลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยไปจนถึงคนวัยทำงานช่วงอายุ 20-40 ปีทั่วประเทศญี่ปุ่น ในขณะที่คนต่างวัยจำนวนไม่น้อยกลับพิศวงและไม่สามารถแม้กระทั่งคาดเดาความหมายของคำศัพท์ใหม่นี้ได้เสียด้วยซ้ำ( มิถุนายน 2555)
Tokyo Sky Tree อุปมารูปลักษณ์ของคนญี่ปุ่นเมื่อ 50 ปีก่อนที่เคยดูแคระแกร็นแตกต่างกับเด็กญี่ปุ่นรุ่นใหม่ที่สมส่วนสูงใหญ่เกินเกณฑ์เฉลี่ยของชาวเอเชีย ในทำนองเดียวกัน Tokyo Tower เมื่อ 54 ปีก่อนที่เคยแลดูขาดอัตลักษณ์นั้น ปัจจุบัน Tokyo Sky Tree หอคอยแห่งใหม่ซึ่งสูงที่สุดในโลกตั้งตระหง่านเป็นสง่าราศีก็คงเป็นอีกหนึ่งประจักษ์พยานที่บ่งบอกพัฒนาการไม่หยุดยั้งของญี่ปุ่นได้อย่างไร้ข้อกังขา( พฤษภาคม 2555)
Tokyo Gate Bridge สะพานโครงสร้างแปลกตาดูละม้ายไดโนเสาร์คู่หนึ่งที่ยืนประจันหน้าเข้าหากันดั่งกรอบประตูเปิดกว้างต้อนรับอาคันตุกะผู้มาเยือนมหานครโตเกียวโดยทางเรือนั้น กลายเป็นหนึ่งในแลนด์มาร์กใหม่ของเมืองหลวงญี่ปุ่น ซึ่งแท้จริงแล้วนี่คือจิ๊กซอว์ชิ้นสุดท้ายของเส้นทางบายพาสเชื่อมต่อระบบการจราจรรอบอ่าวโตเกียวชั้นในเป็นวงแหวน( เมษายน 2555)
พลังงานความร้อนจากใต้พิภพในญี่ปุ่น โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นเสาหลักค้ำจุนความมั่นคงทางพลังงานให้ญี่ปุ่นนานกว่า 4 ทศวรรษ มาบัดนี้กำลังจะกลายเป็นอดีต( มีนาคม 2555)
Ongoing iPS Technology of Japan อายุขัยเฉลี่ยของมนุษย์จะยืนยาวขึ้นพร้อมกันนั้นเราจะมีอวัยวะอะไหล่สำรองเป็นของตัวเองสำหรับเปลี่ยนถ่ายทดแทนได้ยามจำเป็นและที่สำคัญคือนี่ไม่ใช่ แค่จินตนาการเพ้อฝันอีกต่อไป แต่กำลังจะเป็นจริงในอนาคตอันใกล้นี้ด้วย iPS Technology( กุมภาพันธ์ 2555)
Tanita Recipe การอวยพรส่งความสุขในวาระศุภมงคลขึ้นปีใหม่มักปรากฏถ้อยคำในบัตร ส.ค.ส.ที่อาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลกดลบันดาลให้มีพลานามัยสมบูรณ์นั้น มีความคล้ายคลึงกับคำอวยพรใน Nengajo* ของชาวญี่ปุ่น คงสืบเนื่องมาจากตรรกะที่ว่าความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐที่มนุษย์ทุกผู้ทุกนามต่างปรารถนาด้วยกันทั้งสิ้น( มกราคม 2555)
Boeing 787 Dreamliner: Made With Japan มีใครเคยสังเกตบ้างหรือไม่ว่า “อัตราการหมุนเวียนเปลี่ยนถ่ายนวัตกรรมมักจะแปรผันตรงกับขนาดของสินค้า” ดังตัวอย่างที่พบเห็นได้ในประเทศญี่ปุ่นซึ่งเป็นไปตามแนวโน้มของบริบทที่ว่านี้เช่น โทรศัพท์มือถือรวมถึงสมาร์ทโฟนรุ่นใหม่จะออกมาอวดโฉมกันแทบทุกเดือน มีงานเปิดตัวยนตรกรรมใหม่อยู่ทุกไตรมาส ส่วนรถไฟชินกันเซนขบวนใหม่ก็มีให้เห็นหลายๆ ปีครั้ง จะได้นั่งเครื่องบินรุ่นใหม่ก็อาจใช้เวลาโดยเฉลี่ยแล้วนานนับทศวรรษ( ธันวาคม 2554)
A Leading Solar Country ทัศนียภาพจากมุมสูงบนหลังคาบ้านและดาดฟ้าของอาคารรวมถึงสิ่งปลูกสร้างในญี่ปุ่นกำลังแปลงโฉมไปทีละน้อยพร้อมๆ กับเพิ่มหน้าที่ใหม่กลายเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยเทคโนโลยีโซลาร์เซลล์ล่าสุดซึ่งดูละม้ายใบไม้แห่งโลกอนาคตที่จะผลิใบแผ่ขยายกิ่งก้านปกคลุมประเทศญี่ปุ่นนับจากนี้ไป( พฤศจิกายน 2554)
Sunflower Remediation เวลาครึ่งปีภายหลังเหตุแผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นเมื่อ 11 มีนาคม 2011 ที่ผ่านมา* ดูเหมือนจะเป็นช่วงเวลาที่เนิ่นนาน โดยเฉพาะสำหรับผู้ประสบภัยชาวญี่ปุ่น แต่ขณะเดียวกันก็เป็นช่วงเวลาที่สั้นมากเมื่อเทียบกับผลกระทบจากสารกัมมันตรังสีที่ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมรอบรัศมีโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟุคุชิมะแห่งที่ 1 ซึ่งเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นพยายามแสวงหาวิธีการกำจัดสารกัมมันตรังสีดังกล่าวโดยเร่งด่วนที่สุด( ตุลาคม 2554)
 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10  



upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us