Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



วริษฐ์ ลิ้มทองกุล
มานิตา เข็มทอง
ภก.ดร. ชุมพล ธีรลดานนท์
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์
ติฟาฮา มุกตาร์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
สุปราณี คงนิรันดรสุข
สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย
วิรัตน์ แสงทองคำ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
รุ่งมณี เมฆโสภณ
ธีรัส บุญหลง
วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ
ธนิต แก้วสม
อนิรุต พิเศฏฐศลาศัย
วรรณปราณี ศักดิ์สราญรมย์
สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์
ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
พัชรพิมพ์ เสถบุตร
รับขวัญ ชลดำรงกุล
ธนิต วิจิตรพันธุ์
Jérôme René Hassler
ศศิภัทรา ศิริวาโท






 
เริ่มศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ สังกัดรุ่นเอซี 110 จากนั้นจบปริญญาตรีศิลปศาสตร์ กับปริญญาตรี รัฐศาสตร์ (เกียรตินิยม) และปริญญาโท รัฐศาสตร์ ปัจจุบันกำลังศึกษาในระดับปริญญาเอก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งแคนเทอเบอรี่ (University of Canterbury) เมืองไครส์เชิร์ช ประเทศนิวซีแลนด์ (Christchurch, New Zealand) ควบคู่กับการเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ที่วิทยาลัยนานาชาติแปซิฟิค (International Pacific College) เมืองปาร์มเมอสตันนอร์ท ประเทศนิวซีแลนด์ (Palmerston North, New Zealand)

Inside New Zealand
 

วิสกี้ อุตสาหกรรมที่เกิดจากความร่วมมือ สืบเนื่องจากฉบับที่แล้ว ผมพูดถึงกำเนิดวิสกี้และการทำอารยขัดขืนในสกอตแลนด์และนิวซีแลนด์ ตรงนี้ไม่รวมถึงสหรัฐ อเมริกาที่ใช้วิสกี้แทนเงินตราในยุคที่ขาดแคลนมาแล้ว ในช่วงสามปีครึ่งที่ผ่านมาคอลัมน์ผมโดยมากจะเน้นเรื่องสังคมและการเมือง ซึ่งอาจจะสร้างความเครียดให้ท่านผู้อ่านเป็นครั้งคราว ในฉบับนี้ผมจึงขอหันมาพูดเรื่องสบายๆ อย่างวิสกี้ชนิดต่างๆ ในโลกอุตสาหกรรมเหล้า ตบท้ายด้วยรสชาติของวิสกี้บางยี่ห้อ หรือที่มาจากบางเขตที่ผมพอจะมีความรู้อยู่บ้าง( กันยายน 2553)
วิสกี้ใต้แสงจันทร์ สัญลักษณ์แห่งอารยขัดขืน ทุกครั้งที่ผมไปเยี่ยมเยียนเพื่อนๆ หลายคนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในเรื่องต่างๆ เรื่องที่พวกเขาอยากให้ผมตอบมักจะไม่พ้นสามเรื่อง คือ การเรียน การตั้งถิ่นฐานและลงทุนทางธุรกิจ สุดท้ายคือเรื่องเหล้า( สิงหาคม 2553)
เปลี่ยนดินให้เป็นไวน์ กำเนิดอุตสาหกรรมเหล้าองุ่นในนิวซีแลนด์ ช่วงทศวรรษที่ผ่านมาประเทศไทยมีนักธุรกิจที่ให้ความสนใจในการพัฒนาอุตสาหกรรมไวน์ ทำการลงทุนพัฒนาการปลูกไวน์ในประเทศไทย รวมทั้งว่าจ้างชาวไทยที่สำเร็จการศึกษาด้านไวน์และมีประสบการณ์ในการทำเหล้าองุ่นให้มาคิดค้นสูตรเหล้าองุ่นที่เหมาะสมกับประเทศไทย อย่างไรก็ตามบรรดานักดื่มไวน์ในบ้านเรายังเป็นส่วนน้อย ซึ่งส่งผลให้การดื่มไวน์ของไทยเองยิ่งน้อยลงไปอีก ในขณะที่บรรดาคอไวน์ทั่วโลกจะนิยมไวน์ฝรั่งเศส( กรกฎาคม 2553)
ก้าวให้พ้นศตวรรษที่ 20 ด้วยนโยบายการทูตแบบใต้ดิน เมื่อยี่สิบปีก่อนในปี 1990 เมื่อกำแพงเบอร์ลินถูกทุบและเยอรมนีตะวันออกและตะวันตกรวมกันเป็นสหพันธรัฐเยอรมนี ชาวโลกต่างแสดงความดีใจต่อการสิ้นสุดของสงครามเย็น( มิถุนายน 2553)
ความโปร่งใสทางการเมืองนิวซีแลนด์ เมื่อเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา การจัดอันดับความโปร่งใสจากการคอร์รัปชั่นทั่วโลก ผลปรากฏว่าประเทศไทยโดนลดอันดับอีกครั้งไปอยู่ที่ 84 เรียกว่าลดลงติดต่อกันอย่างไม่มีหูรูดจากเมื่อ 5 ปีก่อนอยู่ที่ 59 ในขณะที่นิวซีแลนด์ยังคงรักษาตำแหน่งแชมป์ประเทศโปร่งใสเป็นปีที่สี่ติดต่อกันตั้งแต่กระชากบัลลังก์แชมป์จากไอซ์แลนด์เมื่อปี พ.ศ.2549( พฤษภาคม 2553)
ครอมเวลล์กับสาธารณรัฐในประเทศเครือจักรภพ ทุกครั้งที่ผมเดินทางในประเทศต่างๆ ผมจะสังเกตชื่อเมืองและศึกษาที่มาของชื่อนั้นๆ เช่นเอเชีย มักจะตั้งชื่อตามภูมิศาสตร์หรือประวัติของเมือง เช่นในจีน เมืองนานกิง แปลว่าเมืองหลวงทางใต้ เพราะมีที่มาจากพระเจ้าหมิงฮองวู หรือที่รู้จักกันในหนังกำลังภายในของไทย เช่น ฮ่องเต้ไท่จู่ หรือจูหยวน จาง( เมษายน 2553)
นโยบายการอยู่อาศัยในนิวซีแลนด์ ทุกครั้งที่ผมได้พบนักธุรกิจชาวไทยที่ทราบว่าผมอยู่นิวซีแลนด์มานาน คำถามที่ผมมักจะได้รับคือการทำอย่างไรที่จะได้สิทธิในการได้วีซ่าถาวรในการอยู่อาศัยที่เรียกกันว่า Permanent Resident ซึ่งเป็นชื่อสากล โดยวีซ่าชนิดนี้ในหลายประเทศจะใช้ขอบสีเขียวทำให้คนส่วนมากในโลกโดยเฉพาะคนไทยในสหรัฐอเมริกาที่ได้วีซ่าชนิดนี้เรียกกันติดปากว่า Green Card( มีนาคม 2553)
นิวซีแลนด์ไปบอลโลกกับความสำเร็จของการพัฒนาฟุตบอลในเมืองกีวี ในวงการกีฬาโลกคนส่วนมากรู้จักประเทศนิวซีแลนด์จากกีฬาสองชนิดคือ เรือใบจากการแข่งขันอเมริกันคัพและรักบี้ เพราะชื่อเสียงของทีมออลแบลค กับบรรดาสโมสรรักบี้ของนิวซีแลนด์ ในขณะที่กีฬาอื่นๆ ที่นิวซีแลนด์มีชื่อเสียงในระดับโลกอาจจะเป็นกีฬาที่คนไทยไม่ค่อยรู้จัก( กุมภาพันธ์ 2553)
วิสัยทัศน์ของนิวซีแลนด์ บทบาทของชาติขนาดเล็กในลีกของมหาอำนาจ เมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมา ผู้นำจากประเทศต่างๆ ได้เดินทางไปมหานครนิวยอร์กเพื่อแสดงวิสัยทัศน์ ด้วยการกล่าวสุนทรพจน์ต่อผู้นำชาติต่างๆ ตามข่าวผู้นำบางคนขึ้นไปพูดก็เหมือนไม่ได้พูด เพราะไม่มีสาระอะไรให้จดจำ( มกราคม 2553)
ระบบลูกขุนกับแนวคิดนิติรัฐ แม้ว่าผมจะเขียนเกี่ยวกับกฎหมายหรือคดีต่างๆ ในนิวซีแลนด์มาหลายหน แต่ผมคงต้องขอออกตัวว่าผมไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย เพราะผมศึกษาเพียงกฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายรัฐธรรมนูญ ซึ่งเกี่ยวข้องกับรัฐศาสตร์โดยตรงเท่านั้น( ธันวาคม 2552)
 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7  



upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us