Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



วริษฐ์ ลิ้มทองกุล
มานิตา เข็มทอง
ภก.ดร. ชุมพล ธีรลดานนท์
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์
ติฟาฮา มุกตาร์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
สุปราณี คงนิรันดรสุข
สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย
วิรัตน์ แสงทองคำ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
รุ่งมณี เมฆโสภณ
ธีรัส บุญหลง
วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ
ธนิต แก้วสม
อนิรุต พิเศฏฐศลาศัย
วรรณปราณี ศักดิ์สราญรมย์
สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์
ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
พัชรพิมพ์ เสถบุตร
รับขวัญ ชลดำรงกุล
ธนิต วิจิตรพันธุ์
Jérôme René Hassler
ศศิภัทรา ศิริวาโท






 
เริ่มศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ สังกัดรุ่นเอซี 110 จากนั้นจบปริญญาตรีศิลปศาสตร์ กับปริญญาตรี รัฐศาสตร์ (เกียรตินิยม) และปริญญาโท รัฐศาสตร์ ปัจจุบันกำลังศึกษาในระดับปริญญาเอก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งแคนเทอเบอรี่ (University of Canterbury) เมืองไครส์เชิร์ช ประเทศนิวซีแลนด์ (Christchurch, New Zealand) ควบคู่กับการเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ที่วิทยาลัยนานาชาติแปซิฟิค (International Pacific College) เมืองปาร์มเมอสตันนอร์ท ประเทศนิวซีแลนด์ (Palmerston North, New Zealand)

Inside New Zealand
 

รูปีครันช์ที่ภูฏาน ปัญหาการเงินในเมืองสวรรค์ ฉบับก่อนผมพูดถึงประเทศภูฏานจากภาพรวม เราอาจเรียกตามนิยายว่าแชงกรีลา ดินแดนลึกลับทางตะวันตกของคุนลุ้น เป็นสวรรค์บนดิน อย่างไรก็ตามบนโลกของความจริงอันโหดร้าย สวรรค์บนดินหรือแชงกรีลาก็ไม่ได้แตกต่างจากเมืองอื่นๆ บนโลก( กรกฎาคม 2555)
ภูฏาน เมื่อเข็มนาฬิกากลับมาหมุนในดินแดนที่เวลาหยุดนิ่ง เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ผมได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัยรังสิต ให้เดินทางไปราชอาณาจักรภูฏานเนื่องจากทางมหาวิทยาลัยได้รับหนังสือเชิญจากสภาหอการค้าภูฏานให้ไปร่วมงานการศึกษาของภูฏาน นอกจากนี้ทางมหาวิทยาลัยยังได้รับเชิญจากมหาวิทยาลัยในประเทศภูฏานและหน่วยราชการต่างๆ ให้เข้าพบ( มิถุนายน 2555)
เพราะว่าพวกเธอเป็นผู้หญิง สิทธิสตรีอยู่ห่างกว่าที่เราคิด ท่านผู้อ่านที่อ่านหัวข้อนี้อาจคิดว่าเป็นคอลัมน์ Women in Wonderland ของคุณศศิภัทราหรือเปล่า ไม่ก็คอลัมน์ Pathways to 2015 เปลี่ยนแนว ที่จริงผมเป็นแฟนคอลัมน์คุณศศิภัทรามาตั้งแต่เริ่ม ทำให้ผมสนใจแนวคิดเรื่องสิทธิสตรีไปด้วย( เมษายน 2555)
ผู้นำไทยกับศตวรรษที่ 21 หลังจากผมได้พูดเรื่องการศึกษามาหลายฉบับ ผมขอกลับมาพูดเรื่องที่ดูเหมือนจะไกลตัวเราไปสักนิด แม้ที่จริงแล้ว เป็นเรื่องใกล้ตัวเรากว่าที่คิดมาก นั่นคือเรื่องเกี่ยวกับภาวะผู้นำในประเทศไทย ผมไม่ได้พูดถึงท่านนายกรัฐมนตรีกับภาษาอังกฤษผิดๆ ถูกๆ ที่สื่อเอาไปตีเป็นประเด็น( มีนาคม 2555)
การศึกษาไทยกับความเป็นนานาชาติ 3 สองฉบับที่ผ่านมาผมพูดถึงการศึกษาไทยกับการไปสู่นานาชาติในระดับประถมและมัธยมศึกษา ในฉบับนี้ผมขอพูดถึงระดับอุดมศึกษา จากผลการวิจัยความพร้อมของไทยเกี่ยวกับอาเซียน ผลปรากฏว่าความพร้อมของประเทศไทยตอนนี้อาการน่าเป็นห่วง( กุมภาพันธ์ 2555)
การศึกษาไทยและความเป็นนานาชาติ 2 สืบเนื่องจากฉบับก่อนที่ผมเล่าถึงปัญหาของโรงเรียนไทยในการหาบุคลากรต่างชาติมาสอน เดือนนี้ผมจะพูดถึงโปรแกรม EP และโรงเรียนนานาชาติในไทยที่ได้รับความนิยมมากในช่วงสิบกว่าปีที่ผ่านมาทำให้ผุดขึ้นมาเหมือนดอกเห็ด( มกราคม 2555)
การศึกษาไทยกับความเป็นนานาชาติ 1 เมื่อพูดถึงการค้าเสรีอาเซียน 2015 ที่จะมีผลบังคับใช้ในเวลาอีกไม่ถึง 4 ปีข้างหน้านี้ เรามักจะมั่นใจว่าประเทศของเรามีความพร้อมอันดับต้นๆ ในชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งถ้าเรามองจากตึกรามบ้านช่องที่เรามีอุปกรณ์อำนวยความสะดวก การเดินทางที่ทันสมัยและท่าอากาศยานนานาชาติที่ใหญ่โตติดอันดับโลก( ธันวาคม 2554)
สยามเมืองยิ้มที่หน้าแต่ในใจเราคิดอะไร คำว่าสยามเมืองยิ้มเป็นสโลแกนที่ประเทศของเราใช้มาตั้งแต่สมัยก่อนซึ่งผมก็ไม่แน่ใจว่านานเท่าไหร่แล้ว แต่ที่แน่ๆ คือมาก่อนคำว่า อเมซซิ่งไทยแลนด์ ที่เร็วๆ นี้อาจจะกลายเป็นอาม่าชิ่งไทยแลนด์หลังจากที่มีศูนย์การค้าขนาดใหญ่ของจีนที่มาสร้างจะเปิดดำเนินการทำเอาอาเจ็ก อาม่า ชาวจีนแถวเยาวราชและสำเพ็งเซ็งเป็ดไปตามๆ กัน( พฤศจิกายน 2554)
เมื่อคุณสามารถตั้งหมายเลขและซื้อทะเบียนรถยนต์ได้เอง เวลาเราจะออกรถ หลังจากที่สั่งจองเป็นเรื่องเป็นราวแล้ว คนที่ชอบเรื่องเลขเรื่องดวงต้องมองสิ่งต่อมาก็คือป้ายทะเบียนรถยนต์ สำหรับประชาชนชาวไทย ถ้าอยากได้เลขสวยๆ ก็ต้องดั้นด้นไปขนส่งที่หมอชิตเพื่อขอจองเลขเด็ดจากเจ้าหน้าที่ ส่วนเลขตองหรือเลขที่เหมือนกันสี่ตัวอย่าง 777, 888, 999 หรือเลขสี่ตัวแบบ 7777, 8888, 9999 ต้องไปประมูล เพื่อเอาเงินไปช่วยชาติให้ได้ภาษีเพิ่มเติม( ตุลาคม 2554)
สารสนเทศกับบริหารเครือข่ายพรรคการเมือง ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา อินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทกับชีวิตของเรามากขึ้นเรื่อยๆ ในทางการเมืองก็เช่นกัน นักการเมืองทั่วโลกต่างได้รับรู้ถึงบทบาทที่อินเทอร์เน็ตได้นำความเปลี่ยนแปลงมาสู่โลกทางการเมืองมากขึ้น( กันยายน 2554)
 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7  



upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us