Mobile Phone Effect
คำถาม ที่เร้าใจของผู้ติดตามนิตยสารผู้จัดการ คำถามหนึ่งก่อนสิ้นปี
2543 หรือปี 2000 ตามคริสต์ศักราช ปีหน้าจะมีอะไรเปลี่ยนแปลงหรือไม่
( ธันวาคม 2543)
บทเรียนและโอกาส
มิติแรก ช่วงเวลา ที่ผ่านมาของการทำงานหนัก ทำงานในความหมายของบางท่าน ยังอยู่กับการ
รอคอย บางคนก็ยังอยู่กับอดีตด้วยการวิตกวิจารณ์การทำงานของคนอื่น
ๆ ที่ทำให้พวกเขาไม่สามารถรักษาสถานะเดิมไว้ได้ บางคนก็ทำงานหนัก เพื่อเป้าหมาย
ที่เด่นชัด และเสริมความแข็งขันให้กลับคืนมา อีกหลายคนก็ทำงานหนักกับโอกาสใหม่
ๆ ด้วยความระมัดระวัง
( พฤศจิกายน 2543)
เซ็นทรัลกรุ๊ป
"ผู้จัดการ" เปิดฉากเขียนเรื่องเซ็นทรัลครั้งสำคัญเมื่อเกือบ ๆ 15 ปีที่แล้ว (ต.ค.2529) ในช่วงสัมฤทธิ์ จิราธิวัฒน์เริ่มคิดจะจัดระบบโครงสร้างบริหารใหม่ มาวันนี้เหตุการณ์ทำนองนั้น กำลงจะเกิดขึ้นอีก พวกเขากำลังขบคิดกันอย่างหนักถึงอนาคตที่สำคัญจากนี้ หลังผ่านมรสุมลูกใหญ่มาหลายครั้ง
( ตุลาคม 2543)
สุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ ผู้นำกลุ่มเซ็นทรัล คนต่อไป ?
จะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม ประสบการณ์และวิถีชีวิตของเขาที่ผ่านมาในธุรกิจค้าปลีกของไทย ล้วนสอดคล้องกับธุรกิจยุคใหม่อย่างสำคัญ ในการปักธงค้าปลีกแบบครบวงจรในกลางเมืองหลวง ไปสู่การปรับความคิดใหม่ ๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในช่วง 25 ปีที่ผ่านมา
( ตุลาคม 2543)
click and motar
กิจการที่หากินกับอินเทอร์เน็ตล้วนๆ กำลังมีปัญหากันทั่วโลก อันเนื่องจากการมองโลกในแง่ดีจนเกินไปว่า อินเทอร์เน็ตได้กลายส่วนประกอบสำคัญของสังคม อย่างไรก็ตาม เราเชื่อว่าโมเดลของธุรกิจในอินเทอร์เน็ตนั้นจะต้องผสมผสาน กับ
"ภาคที่มิใช่อินเทอร์เน็ต" ที่มีอยู่จริงในสังคมอย่างกลมกลืน
( กันยายน 2543)
บทเรียนการพัฒนาใหม่ นิตยสาร "ผู้จัดการ"
ผมเชื่อในเรื่องของการแชร์ความรู้แชร์ประสบการณ์ และบทเรียน ขณะเดียวกัน
ผมก็เชื่อว่าการแข่งขัน ทางความคิด และการทำงานเพื่อให้สังคมไทย มีนิตยสารที่ดีเกิดขึ้นมากมาย
เป็นเรื่องที่ดี ผมดีใจมากในกระบวน การพัฒนานิตยสาร " ผู้จัดการ" ในปีที่ผ่านมานั้น
เกิดขึ้นท่ามกลางการมีนิตยสารรายเดือนใหม่ที่เกิดขึ้นหลายฉบับ พร้อมกับนิตยสารที่อยู่เดิมในตลาดก็ตื่นตัวพัฒนาตัวเองอย่างน่าสนใจ
( สิงหาคม 2543)
ขึ้นปีที่ 18
ฉบับหน้า "ผู้จัดการ" จะมีนิตยสารรายเดือนที่ผ่านร้อนผ่านหนาวมาถึง 17 ปีเต็ม
และพร้อมจะก้าวขึ้นสู่ปีที่ 18 ด้วยความมั่นใจอย่างเต็มเปี่ยม ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมานี้
ถือเป็นยุคแห่งการฟื้นฟูนิตยสารฉบับนี้ขึ้นมาได้อย่างมหัศจรรย์ (ในสายตาคนทั่วไป)
ท่ามกลางวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ที่ยังไม่คลี่คลายไปเท่า ที่ควร และภายใต้ข้อจำกัดในเรื่องทรัพยากรด้านต่างๆ
ของเราเอง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ด้วยประสบการณ์ ที่ตกผลึกจากการสะสมมายาวนาน
ด้วยภูมิปัญญาของทีมงาน ที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้นิตยสารฉบับนี้ พัฒนาไปสู่คุณภาพขั้นสูงของนิตยสารในเมืองไทย
( กรกฎาคม 2543)
ปุจฉาว่าด้วยไอทีวี
เรื่องราวระหว่างเนชั่นในไอทีวี มีพัฒนาการที่น่าสนใจ ด้วยคำว่า "ทีวีเสรี" และ "เสรีภาพของสื่อ" มีพลังทำให้บทบาทนำของ เนชั่น ในการบริหารมีอย่างต่อเนื่องมา 2 ปีเต็มในไอทีวี ทั้งๆ ที่เนชั่น ถือหุ้นเพียง 10% ในกิจการร่วมทุนที่มีหลายฝ่าย โดยมีธนาคารไทยพาณิชย์เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ และสนับสนุนทางการเงินอย่างเต็มที่
( มิถุนายน 2543)
ผู้จัดการ 100
ผู้จัดการ 100" ฉบับ ที่ท่านกำลังอ่านอยู่ขณะนี้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นเท่านั้น
เผอิญในเดือนที่ผ่านมา เรื่องราววิกฤติการณ์ของทีพีไอบริษัทหนึ่ง "ผู้จัดการ
100" ได้เดินมาถึงจุดพลิกผันสำคัญอย่างยิ่งสำหรับกิจการที่เติบโตอย่างรวดเร็วโดยใช้เวลาเพียง
20 ปี ในช่วงเศรษฐกิจไทยเติบโตอย่างมากช่วงหนึ่ง
( พฤษภาคม 2543)
ผู้จัดการ 100
ไม่มีใครปฏิเสธว่า ตลาดหลักทรัพย์เป็น "ดัชนี" สำคัญอย่างหนึ่ง
ของความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยได้ เรื่องราววิกฤติของสังคมไทยครั้ง ที่หนักที่สุด
ซึ่งดูทีท่าว่ากำลังคลี่คลายไปบ้างในขณะนี้ จุดเริ่มต้น และสัญญาณล้วนมาจากตลาดหุ้นไทย
( เมษายน 2543)