Growth Symbol
การเปิดแถลงข่าวอย่างเป็นทางการ ซึ่งจัดเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสำนักงานทรัพย์สิน
ส่วนพระมหากษัตริย์ เมื่อกลางเดือนมีนาคมปีนี้ถือเป็นการประกาศความพร้อมในการกลับมาทำธุรกิจเชิงรุกอีกครั้ง
หลังจากต้องเก็บตัวเงียบมากว่า 5 ปี
( ธันวาคม 2546)
ชุมพล ณ ลำเลียง "วิกฤติครั้งหน้า ไม่ใช่ยุคผมแล้ว"
ผลสำเร็จในการปรับตัวครั้งใหญ่ของเครือซิเมนต์ไทยใช้เวลาประมาณ 4 ปีจากวิกฤติการณ์
ครั้งใหญ่ ในสายตาของวงการธุรกิจดูเป็นเรื่องน่าตื่นเต้น แต่สำหรับชุมพล
เขากลับมองว่า
นั่นคือจุดเริ่มต้นของปัญหาใหม่ที่ใหญ่ และถือเป็นงานชิ้นสุดท้ายของเขาที่ไม่มีโอกาสแก้ตัวเสียด้วย
( ธันวาคม 2546)
Regional Executive
เวลานี้ ชุมพล ณ ลำเลียง มีของเล่นชิ้นใหม่ที่เขาเหน็บเอวไว้ตลอด ผู้คนที่ช่างสังเกตย่อมจะเห็นว่าเป็นของที่เขาชอบเป็นพิเศษ
แต่ไหนแต่ไรมาเขาไม่เคยต้องเหน็บโทรศัพท์มือถือเช่นคนอื่น ของเล่นชิ้นนี้เป็นโทรศัพท์ไร้สายขนาดใหญ่กว่าทั่วไปเล็กน้อย ดังนั้นเมื่ออยู่ที่เอวของคนตัวเล็ก ย่อมจะสังเกตเห็นง่าย
( ธันวาคม 2546)
กานต์ ตระกูลฮุน ยังไง ๆ คนก็ย่อมมองมาที่เขา
"ผู้จัดการ" หยั่งเชิงกับเขาในลิฟต์ระหว่างการเยี่ยมชม Office ที่ตกแต่งใหม่
ว่าใครๆ ก็มองมาที่เขาที่จะเป็นทายาทของชุมพล ณ ลำเลียง เขาตอบทันทีว่า "no
comment" กานต์ ตระกูลฮุน ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ที่ดูแลสำนักงานใหญ่เป็นคนเดียวที่มีอายุเหลือเกือบๆ
10 ปี หากชุมพล ณ ลำเลียง อำลาตำแหน่งผู้จัดการใหญ่ตามเวลาเกษียณ
( ธันวาคม 2546)
Place to Space
ยุทธศาสตร์สำคัญของเรากำลังเดินหน้าต่อไป และได้รับการตอบสนองจาก Follower มากขึ้นๆ "Place to Space : Migrating to eBusiness Model เป็นแนวคิดของเรื่องที่เราภูมิใจเป็นพิเศษถือเป็นแนวคิดในการปรับตัวของนิตยสาร "ผู้จัดการ"
( พฤศจิกายน 2546)
Positioning
คือชื่อนิตยสารฉบับใหม่ของเรา ที่กำลังเตรียมพร้อมจะออกสู่สังคมไทยยุคใหม่ในไม่ช้านี้ นิตยสารฉบับนี้มุ่งตอบสนองตลาดที่เจาะจงมากเป็นพิเศษ สำหรับกลุ่มคนที่เป็นอนาคตของสังคม
ซึ่งพิจารณาตามช่วงอายุระหว่าง 25-35 ปี
( ตุลาคม 2546)
ประสบการณ์ 20 ปี
20 ปีที่ผ่านไป คงไม่ใช่เวลาที่เพียงผ่านไป หากประสบการณ์ของนิตยสารเล่มนี้
ที่ผ่านช่วงเวลาสำคัญๆ ของสังคมไทย นับเป็นช่วงเวลาที่ผันแปร และมีสีสัน
ในเชิงความคิด ในเชิงยุทธศาสตร์มากทีเดียว
( สิงหาคม 2546)
บัณฑูร ล่ำซำ Role Model
ต้องยอมรับความจริงว่า ความสนใจของผู้คนในสังคมในเวลานี้ สนใจตัวตนของเขามากกว่าธนาคารกสิกรไทย และดูเหมือนว่าตัวตนของเขาได้แยกออกจากโมเดลธุรกิจของตระกูลล่ำซำมากขึ้นด้วย ถึงอย่างไรก็มีบางคนวิเคราะห์ว่าความสนใจในตัวตนของเขาในเชิงบวก ย่อมจะมีผลดีต่อภาพลักษณ์ของธนาคารกสิกรไทยอย่างมิพักสงสัย เขาเป็นภาพลักษณ์ของความต่อเนื่องของรากเหง้าสังคมไทยและรากฐานธุรกิจเก่าแก่ ที่เอาตัวรอดด้วยจิตวิญญาณของผู้มีความคิดทันสมัย
( สิงหาคม 2546)
KBANK's Outsourcing Case Study อีกเรื่องของธนาคารไทย
"มันก็เห็นว่าโจทย์คืออะไร เห็นอยู่ว่าคอขวดอยู่ตรงไหน ถึงจุดหนึ่งมันก็ปิ๊งขึ้นมาว่า
มันต้องมีทางออกสิ เราไม่ใช่คนแรกในโลก แต่เราเป็นคนแรกในเมืองไทยที่ทำในสเกลใหญ่
สเกลก็คือยกให้ไปหมด ไทยทนุทำแค่ 20 คน แต่ดีบีเอส เวิลด์ไวด์ เซ็นสัญญาวันเดียวกับเรา
แต่ตอนนั้นเราไม่ได้ทำข่าวใหญ่ ดีบีเอสทำเป็นข่าวใหญ่ แต่จริงๆ แล้วเซ็นพร้อมกัน
ผมเชื่อเลยว่าอีกไม่นานก็จะต้องมีคนทำตาม
( สิงหาคม 2546)
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ บทบาทใหม่
เขาเป็นคนทำงานเชิงยุทธศาสตร์ในภาคราชการมากว่า 20 ปี เมื่อก้าวมาสู่ภาคเอกชนครั้งแรก ย่อมเป็นงานที่มีความหมายกับเขาพอสมควร ในที่สุดเขาก็ตัดสินใจมาทำงานกับคนที่คุ้นเคยและเข้าใจกันดี ไม่เพียงแนวคิดและอุปนิสัย เขายังมีความแนบแน่นระดับรากเหง้า แม้ทั้งสองจะกล่าวเหมือนกันว่า เป็นญาติห่างๆ แทบจะไม่เรียกว่าญาติ
( สิงหาคม 2546)