Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



วริษฐ์ ลิ้มทองกุล
มานิตา เข็มทอง
ภก.ดร. ชุมพล ธีรลดานนท์
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์
ติฟาฮา มุกตาร์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
สุปราณี คงนิรันดรสุข
สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย
วิรัตน์ แสงทองคำ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
รุ่งมณี เมฆโสภณ
ธีรัส บุญหลง
วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ
ธนิต แก้วสม
อนิรุต พิเศฏฐศลาศัย
วรรณปราณี ศักดิ์สราญรมย์
สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์
ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
พัชรพิมพ์ เสถบุตร
รับขวัญ ชลดำรงกุล
ธนิต วิจิตรพันธุ์
Jérôme René Hassler
ศศิภัทรา ศิริวาโท






 
Strategy | หมายเหตุธุรกิจ | new articles | pocket books

 
บรรณาธิการนิตยสารฉบับนี้ เข้าสู่วิชาชีพนี้เมื่อ 20 ปีที่แล้ว พอๆ กับอายุของ "ผู้จัดการ" เขาเติบโตในอาชีพในทัศนะเก่าเร็วมากเพราะมีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี

 

new articles

สบสันติ์ เกตุสุวรรณ ปูนซิเมนต์ MATURE PRODUCT CLASSIC CASE STUDY เขาเป็นคนเรียบง่าย ค่อนข้างสมถะ ตามแบบฉบับของคนเครือซิเมนต์ไทยที่สำคัญเป็นลูกหม้อ เริ่มทำงานครั้งแรกที่นี่ด้วยปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ (เกียรตินิยม) จุฬาฯ จากนั้นก็เป็นนักเรียนทุน MBA รุ่นแรกของบริษัท (เขาเรียนจบทั้ง M.Eng และ MBA จาก University of Southern California) ปัจจุบันอายุ 53 ปี( กรกฎาคม 2542)
ธุรกิจปิโตรเคมี YOUNG CULTURE "เราสร้าง Culture ใหม่ คุณเดินมาตึกปิโตรเคมีจะไม่เหมือนสำนักงานใหญ่ คนละ Culture เด็กที่นี่ทำงานลุยกัน เพราะเราเป็น Young Culture เด็กที่นี่อายุเฉลี่ย 25-26 ปี" อภิพร ภาษวัธน์ ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่บริษัทปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) และกรรมการผู้จัดการใหญ่บริษัทเคมีภํณฑ์ซิเมนต์ไทย เปิดฉากอรรถาธิบายกับ "ผู้จัดการ" ถึงบุคลิกของธุรกิจปิโตรเคมีของเครือซิเมนต์ไทย อย่างไม่เกรงใจใคร ด้วยความภาคภูมิและบุคลิกความมั่นใจตัวเองสูง( กรกฎาคม 2542)
เจริญ ศรีสมบูรณานนท์ นักซื้อที่แท้จริง? The Man Behind...อาจจะเรียกขานเขาเช่นนั้นได้ เจริญ ศรีสมบูรณานนท์ เป็นตัวอย่างของคนหนุ่มกับยุคสมัยใหม่ ที่เวทีธุรกิจช่างคับแคบเหลือเกิน แต่เขาก็สามารถดันตัวเองขึ้นมาได้อย่างน่าพิศวง( มกราคม 2531)
ล็อกซเล่ย์ (กรุงเทพฯ) ฟ้าใสหลังมรสุม ล็อกซเล่ย์ (กรุงเทพฯ) เป็นธุรกิจนำเข้าค่อนข้างเต็มรูป ผจญปัญหาครั้งใหญ่ในช่วงปี 2527 เป็นต้นมา ขาดทุนจากการลดค่าเงินบาท - การกู้เงินตราต่างประเทศเกือบ ๆ 100 ล้านบาท( กันยายน 2530)
เถ้าแก่ยุคใหม่พลังอันน้อยนิดแต่วิญญาณธุรกิจยิ่งใหญ่ "...กลุ่มของคุณเป็นสัญลักษณ์การวิวัฒนาการของเศรษฐกิจสังคมไทย ที่ผู้มีการศึกษาสูงจำต้องเปลี่ยนความคิดจากพยายามประกอบอาชีพรับจ้างและรับราชการไปเป็นผู้ประกอบอาชีพอิสระ ( พฤศจิกายน 2529)
“จิราธิวัฒน์และห้างเซ็นทรัลกำลังจะผ่านเข้าสู่ยุคที่สาม ยุคที่ห้างเซ็นทรัลอาจไม่ใช่ของจิราธิวัฒน์!?” ห้างเซ็นทรัลสร้างความเชื่อมั่นกับผู้ซื้อมา 40 ปีเต็ม จนจะกลายเป็นวัฒนธรรมของคนไทย ห้างนี้ยืนยงคงกระพัน แม้ท่ามกลางพายุการแข่งขันที่รุนแรง ไม่เคยมีในประวัติศาสตร์ตั้งแต่ปลายปี 2527 เป็นต้นมา สำหรับคนในตระกูล "จิราธิวัฒน์" ผู้สร้างและผู้บริหารห้างนี้แล้วมันไม่ใช่เรื่องยากเย็นนัก แต่ปัญหาอนาคตเกี่ยวกับโครงสร้างบริหารนี่สิ เป็นปัญหาใหญ่หลวง…( ตุลาคม 2529)
เมโทรแมชีนเนอรี่ KING OF TRACTOR ผงาดขึ้นอีกครั้ง!? ปี 2527 เมโทรแมชชีนเนอรี่เผชิญมรสุมครั้งใหญ่ ขาดทุนถึง 178 ล้านบาท ครั้งแรกครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา ทองไทร บูรพชัยศรี ผู้กุมบังเหียนมาแต่ต้นจนทุกวันนี้ต้องเหนื่อยอย่างมาก ตั้งแต่ปี 2528 เป็นต้นมา ซึ่งมีความพยายามของเขาในการ "ฟื้นฟู" กิจการก็ใกล้บรรลุความสำเร็จแล้ว( ตุลาคม 2529)
สหธนาคารยุคบรรเจิด ชลวิจารณ์ เดินมาถึงจุดเปลี่ยนโค้ง…!?...หรืออาจจะไม่เปลี่ยนเลย? เคยมีผู้รู้พูดว่า จุดกำเนิดธนาคารพาณิชย์เกือบทุกแห่งในประเทศไทยมีลักษณะคล้าย ๆ กัน คือคนมีเงินและมีความรู้ด้านธนาคารบวกกับทหารและผู้มีอำนาจในแผ่นดินยุคนั้น...แต่ทุกวันนี้ธนาคารเหล่านั้นได้พยายามสลัดคราบเดิมทิ้งไป( มีนาคม 2529)
 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10  



upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us