Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



วริษฐ์ ลิ้มทองกุล
มานิตา เข็มทอง
ภก.ดร. ชุมพล ธีรลดานนท์
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์
ติฟาฮา มุกตาร์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
สุปราณี คงนิรันดรสุข
สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย
วิรัตน์ แสงทองคำ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
รุ่งมณี เมฆโสภณ
ธีรัส บุญหลง
วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ
ธนิต แก้วสม
อนิรุต พิเศฏฐศลาศัย
วรรณปราณี ศักดิ์สราญรมย์
สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์
ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
พัชรพิมพ์ เสถบุตร
รับขวัญ ชลดำรงกุล
ธนิต วิจิตรพันธุ์
Jérôme René Hassler
ศศิภัทรา ศิริวาโท






 
Strategy | หมายเหตุธุรกิจ | new articles | pocket books

 
บรรณาธิการนิตยสารฉบับนี้ เข้าสู่วิชาชีพนี้เมื่อ 20 ปีที่แล้ว พอๆ กับอายุของ "ผู้จัดการ" เขาเติบโตในอาชีพในทัศนะเก่าเร็วมากเพราะมีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี

 

หมายเหตุธุรกิจ
 

เครือข่ายธุรกิจยุคใหม่ จากนี้ไปความเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง ธุรกิจไทย จะปรากฏโฉมใหม่ๆ ทีละฉากๆ
จากความล่มสลายของอาณาจักรธุรกิจแบบเดิมของธุรกิจระบบครอบครัวไทย ก็จะค่อยๆ สถาปนาเครือข่ายธุรกิจแบบใหม่ ที่สร้างขึ้นจากผลประโยชน์ที่ร่วมกันทางธุรกิจโดยตรงมากขึ้น…( มีนาคม 2543)
ระบบธุรกิจผูกขาดกำลังเสื่อมถอย ความคิดว่าด้วย "ธุรกิจผูกขาด" มีอิทธิพลอย่างมาก ทั้งระดับนโยบายเศรษฐกิจของรัฐและยุทธศาสตร์ของธุรกิจไทย มายาวนานไม่น้อยกว่า 3 ทศวรรษ
จะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม แนวความคิดในการปรับโครงสร้างธุรกิจครั้งล่าสุด โดยยึดโมเดลจากตะวันตก โดยเฉพาะสหรัฐฯ (ผ่านบริษัทที่ปรึกษา McKensey & Company) จากการปรับโครงสร้างธุรกิจสำคัญของไทย 2 แห่ง เครือซิเมนต์ไทย และซีพี ทำให้โครงสร้างความคิด "ผูกขาด" ดั้งเดิม เสื่อมมนต์ขลังไปทันที …( กุมภาพันธ์ 2543)
REGIONAL ORGANIZATION การประกาศยกระดับกิจการในประเทศไทยของธุรกิจระดับโลก เป็น Regional Organization เป็นแนวโน้มที่น่าสนใจมากในสังคมธุรกิจไทย และเป็น สัญญาณที่น่าสะพรึงกลัวของธุรกิจไทยที่มาพร้อมกับ "ความเชื่อ" ว่า เศรษฐกิจจะฟื้นตัว นั่นคือการแข่งขันที่ยากลำบากที่สุดในสังคมธุรกิจไทยจากนี้ไป
เป็นการแข่งขันกับคู่แข่งที่เข้มแข็งอย่างยิ่ง อย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน …( มกราคม 2543)
Web banking ความฟุ้งซ่านใหม่ของสังคมไทย ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเทคโนโลยีของคนที่มีปัญญาจะซื้อมาได้โดยง่าย มักจะมองมันเป็น "พระเจ้า" เสมอ เช่นเดียวกับเรื่องราวความพยายามของ ธนาคารบางแห่งที่หวังจะใช้เทคโนโลยีมาจัด "ข้อจำกัด" ของตนเอง ในเรื่อง ต่าง ๆ ที่กำลังคุกคามอนาคตธนาคารไทยอยู่ในขณะนี้( ธันวาคม 2542)
บทเรียนของซีพีว่าด้วยเทคโนโลยี ซีพีหรือกลุ่มเจริญโภคภัณฑ์ ภายใต้การนำของธนินท์ เจียรวนนท์ สร้างธุรกิจที่มีจุดแข็งที่สุด เป็นบุคลิกของสังคมเศรษฐกิจไทย นั่นคือการใช้เทคโนโลยีของโลกประยุกต์เข้ากับสังคม เกษตรกรรมที่เมืองไทยเป็นศูนย์กลาง สร้างผลผลิตการเกษตรอย่างมีประสิทธิ ภาพ มีผลผลิตและมูลค่าเพิ่มต่อเนื่อง จนกลายเป็นฐานของอุตสาหกรรมอาหาร ภายใต้เครือข่ายการผลิตและการตลาดที่กว้าง ขวางระดับภูมิภาค ( พฤศจิกายน 2542)
Technovision บทเรียนจาก "ผู้จัดการ" ข้อเขียนชิ้นนี้คัดมาจากส่วนหนึ่งของหนังสือ "TECHNOVISION บทเรียนลับผู้จัดการ" ของผม ซึ่งคาดว่าจะวางจำหน่ายในกลางเดือนพฤศจิกายน 2542 นี้ "ผมจึงตัดสินใจนำ "ความคิด" ที่ไม่เคยเปิดเผยต่อสาธารณชนมาก่อน จากประสบการณ์ตรงในเรื่องการบริหารธุรกิจข้อมูลข่าวสาร ตั้งแต่ยุคเก่าถึงยุคใหม่ มาเปิดเผยในลักษณะบันทึกความทรงจำ( ตุลาคม 2542)
บทเรียนสุกรี โพธิรัตนังกูร สุกรี โพธิรัตนังกูร จากโลกไปเมื่ออายุ 83 ปี พร้อมกับทิ้งปัญหา "ความไม่แน่นอน" ของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย ไว้ข้างหลัง( กันยายน 2542)
สถานการณ์ล่าสุดของตระกูลหวั่งหลี วิกฤติการณ์สังคมไทยครั้งนี้ มิได้นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญเท่านั้น ยังรวมไปถึงแนวคิดในการอรรถาธิ-บายพัฒนากลุ่มธุรกิจใหญ่ๆ ของไทยที่นักวิชาการเรียกกันว่า "กลุ่มทุน" ด้วย( สิงหาคม 2542)
ฝรั่งรุกเข้าการเกษตรไทยแล้ว ความฝันของคนไทยในการสร้างอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการส่งออกมีมานานแล้ว ความพยายามก็มีมานานเช่นเดียวกัน ความเชื่อมั่นว่า ไทยเป็นสังคมเกษตร มีความรู้การเกษตรที่พร้อมจะก้าวสู่อุตสาหกรรมเกษตรสร้างมูลค่าเพิ่มต่อเนื่อง ก็มีมานานแล้ว ความเชื่อมั่น อุตสาห-กรรมเกษตรนี่ล่ะ คือทางออกและจุดแข็งทางเศรษฐกิจของไทยเมื่อเปรียบกับสังคมธุรกิจ โลกมีมานานแล้ว และดูเหมือนจะมากขึ้นในยุคทบทวนตัวเองครั้งใหญ่ ปัจจุบัน( กรกฎาคม 2542)
 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8  



upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us