Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 



วริษฐ์ ลิ้มทองกุล
มานิตา เข็มทอง
ภก.ดร. ชุมพล ธีรลดานนท์
ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์
ติฟาฮา มุกตาร์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
สุปราณี คงนิรันดรสุข
สมศักดิ์ ดำรงสุนทรชัย
วิรัตน์ แสงทองคำ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
รุ่งมณี เมฆโสภณ
ธีรัส บุญหลง
วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ
ธนิต แก้วสม
อนิรุต พิเศฏฐศลาศัย
วรรณปราณี ศักดิ์สราญรมย์
สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์
ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
พัชรพิมพ์ เสถบุตร
รับขวัญ ชลดำรงกุล
ธนิต วิจิตรพันธุ์
Jérôme René Hassler
ศศิภัทรา ศิริวาโท






 
เศรษฐทรรศน์เจ้าพระยา | bank of Thailand | sports business

 
 

Sport Business
 

UEFA Champion League กับฐานะการเงินสโมสรฟุตบอลยุโรป Deloitte Touche Tohmatsu นอกจากจะเป็นยักษ์ใหญ่ในธุรกิจการบัญชีแล้ว ยังเป็นผู้ชำนัญการระบบการเงินของสโมสรฟุตบอลยุโรปอีกด้วย ทั้งนี้เนื่องจาก Deloitte รับจ้างตรวจสอบบัญชีและฐานะการเงินของสโมสรฟุตบอลยุโรปนั่นเอง( เมษายน 2547)
ธุรกิจการตลาดกีฬา Sports Marketing Business นับตั้งแต่ต้นทศวรรษ 2520 เป็นต้นมา การกีฬาระหว่าง ประเทศเติบโตและรุ่งเรืองจนก่อให้เกิดธุรกิจนานาประเภท นับตั้งแต่ ธุรกิจอุปกรณ์กีฬา ธุรกิจเครื่องแต่งกายและรองเท้ากีฬา ธุรกิจสนาม กีฬา และธุรกิจโทรทัศน์ รวมตลอดจนธุรกิจการตลาดกีฬา( กันยายน 2544)
ดุลยภาพในตลาดนักฟุตบอลยุโรป โจอัน แกสปาร์ต (Joan Gas-part) บ่นงึมงัมหลังจากยอมตกลงปรับเงินเดือนค่าตอบแทนแก่ ริวัลโด (Rivaldo) เมื่อต้นเดือนสิงหาคม 2543 แกสปาร์ตเพิ่งเข้ารับตำแหน่งประธานสโมสรฟุตบอล Barcelona แห่งสเปน สโมสรบาร์เซโลนาเพิ่งเสีย หลุยส์ ฟิกโก (Louis Figo) ดารานัก ฟุตบอลทีมชาติโปรตุเกสแก่สโมสร Real Madrid ซึ่งเป็นปรปักษ์สำคัญในวงการฟุตบอลสเปน ริวัลโด นักฟุตบอลทีมชาติบราซิลเป็นเป้าที่บรรดาสโมสรฟุตบอลยักษ์ใหญ่ทั้งในอิตาลีและสเปนต้องการตัวเป็นอย่างยิ่ง หากสโมสรบาร์เซโลนาต้องเสียทั้งหลุยส์ ฟิกโก และริวัลโด พร้อมกัน นับเป็นการสูญเสียที่อาจทำให้แกสปาร์ตเสียหน้าได้ ดังนั้น แกสปาร์ตจึงต้องพยายามดึงให้ ริวัลโดอยู่กับสโมสรบาร์เซโลนา ต่อไป และไม่มียุทธวิธีใดที่ดีกว่า การเสนอปรับเงินเดือนค่าตอบแทน…( กันยายน 2543)
กอล์ฟ ทุนวัฒนธรรม และเศรษฐกิจฟองสบู่ (ตอนที่ 3) ในขณะที่การขยายตัวของจักรวรรดิอังกฤษเป็นคลื่นลูกที่หนึ่ง และการก่อตัวของทุนวัฒนธรรมเป็นคลื่นลูกที่สองที่กระทบต่อกระบวนการสากลานุวัตรของกีฬากอล์ฟ เศรษฐกิจฟองสบู่เป็นคลื่นลูกที่สามที่ทำให้สายธารของกระแสสากลานุวัตรไม่ขาดตอน…( สิงหาคม 2543)
กอล์ฟ ทุนวัฒนธรรม และเศรษฐกิจฟองสบู่ (ตอนที่ 2) ทุนนิยมวัฒนธรรม (Cultural Capitalism) นับเป็นคลื่นลูกที่สองที่เสริมส่งกระแสสากลานุวัตรของกีฬากอล์ฟ เมื่อกอล์ฟกลายเป็นกีฬาอาชีพในชั้นแรก ความนิยมเล่นกอล์ฟยังไม่ขยายตัวมากนัก ต่อเมื่อสามารถกำหนด เงินรางวัลในระดับสูงความนิยมกีฬากอล์ฟจึงขยายตัวในอัตราเร่ง เงินรางวัล เป็นสิ่งจูงใจที่ดูดดึงให้ผู้คนเข้าร่วมแข่งขัน แรงดึงดูดนี้มีมากพอแม้แต่จะทำให้เด็กเก็บลูกกอล์ฟวาดฝันที่จะเป็นนักกอล์ฟอาชีพ ข้อเท็จจริงปรากฏต่อมาว่า นักกอล์ฟอาชีพจำนวนไม่น้อยไต่เต้าจากเด็กเก็บลูกกอล์ฟนั้นเอง…( กรกฎาคม 2543)
กอล์ฟ ทุนวัฒนธรรม และ เศรษฐกิจฟองสบู่ (ตอนที่ 1) ธุรกิจสนามกอล์ฟกำลังเผชิญภาวะความซบเซาทั้งในประเทศไทย ญี่ปุ่น และ บรรดาประเทศขอบสมุทรแปซิฟิก ข้อที่ไม่สู้มีใครกล่าวถึง ก็คือ ความรุ่งเรือง และความซบเซาของธุรกิจสนามกอล์ฟขึ้นอยู่กับภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่อย่าง ค่อนข้างสำคัญ ความข้อนี้เป็นจริงอย่างยิ่งสำหรับกลุ่มประเทศขอบสมุทรแปซิฟิก หรือ Pacific Rim…( มิถุนายน 2543)
 1  



upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide



 



home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us